กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/235
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุมาพร ทาไธสงth
dc.contributor.authorวิชมณี ยืนยงพุทธกาลth
dc.contributor.authorสิริมา ชินสารth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/235
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการทดสอบประสิทธิภาพของกรดไขมันที่แยกได้จากน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียจำนวน 6 ชนิด ซึ่งได้แก่ Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus subtilis, Bacillus cereus, Escherichia coli, Salmonella spp. และ Shigella spp. จากการทดสอบด้วยวิธี disc diffusion พบว่ากรดไขมัน (ความเข้มข้น 50% v/v ปริมาตร 20 ไมโครลิตร) สามารถยับยั้งการเจริญของ S. aureus ATCC 25923, B. subtilis และ B. cereus โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ inhibition zone เท่ากับ 10.67 ± 0.50, 9.00 ± 0.00 และ 8.33 ± 0.50 มิลลิเมตร ตามลำดับ เมื่อนำกรดไขมันมาทดสอบมาหาค่าความเข้มข้นต่ำสุด (MIC) ต่อเชื้อทดสอบ ด้วยวิธี agar dilution พบว่าค่า MIC ของกรดไขมันต่อ S. aureus ATCC 25923, B. subtilis และ B. cereus เท่ากับ 0.04% v/v ส่วนค่า MIC ของกรดไขมันต่อ Escherichia coli, Salmonella spp. และ Shigella spp. เท่ากับ >2.5% v/v และจากการทดสอบฤทธิ์ต้าน S. aureus ATCC 25923, B. subtilis และ B. cereus ของกรดไขมันในตัวอย่างอาหาร พบว่า จำนวน S. aureus ลกลงเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับชุดควบคุม ส่วนจำนวน B.subtilis และ B. cereus ในอาหารที่เติมกรดไขมันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับชุดควบคุม ส่วนการศึกษาคุณภาพทางด้านจุลินทรย์ของอาหารที่มีน้ำมันมะพร้าวเป็นส่วนประกอบ ซึ่งได้แก่ โยเกิร์ตรสธรรมชาติ น้ำสลัดชนิเข้มข้น ไส้กรอกเปรี้ยว และกระเทียม โดยทำการตรวจวิเคราะห์หาจุลินทร์ทั้งหมด (aerobic plate count) โคลิฟอร์ม และ E. coli พบว่า จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดในตัวอย่างอาหารที่เติมและไม่เติมน้ำมันมะพร้าวไม่แตกต่างกันและตรวจพบการปนเปื้อนโคลิฟอร์มในตัวอย่างไส้กรอกเปรี้ยวที่เติมและไม่เติมน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ (>1100 MPN/ กรัม) ส่วนตัวอย่างอาหารที่นำมาวิเคราะห์ทั้งหมดตรวจไม่พบ E. coli.th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2554 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกรดไขมันth_TH
dc.subjectน้ำมันมะพร้าว - - การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectน้ำมันมะพร้าว - - การใช้รักษาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleประสิทธิภาพของกรดไขมันจากน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ในการยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคth_TH
dc.title.alternativeEffect of fatty acid from virgin coconut oil against pathogenic microorganismsen
dc.typeResearch
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed to test antimicrobial activity of fatty acid extracted from virgin coconut oil in growth inhibition of 6 pathogenic bacteria including Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus subtilis, Bacillus cereus, Escherichia coli, Salmonella spp. and Shigella spp. The result from disc diffusion method showed that fatty acid could inhibit growth of S. aureus ATCC 25923, B. subtilis, B. cereus which inhibition zone were 10.67 ± 0.50, 9.00 ± 0.00 and 8.33 ± 0.50 mm, respectively. The minimum inhibitory concentration (MIC) of the fatty acid determined by agar dilution method showed that MIC of tha fatty acid against S. aureus ATCC 25923, B. subtilis, B. cereus was 0.04% v/v. The MIC of the fatty acid agiant Escherichia coli, Salmonella spp. And Shigella spp. was >2.5% v/v. The fatty acid was tested against S. aureus ATCC 25923, B. cereus in food sample. The extract has a slight inhibitory effect on S. aureus ATCC 25923. Whereas significantly inhibition found in B. subtilis and B. cereus when compare with control. Mocrobiological quality of foods containing virgin coconut oil (natural yogurt, salad, fermented pork sausage, and garlic) showed that aerobic plate count value from the food samples did not different from control. Both of Fermented pork sausage containing virgin coconut oil and control were positive for coliform bacteria (>1100 MPN.ml). All food samples were negartive for E. coli.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น