กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2357
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวันชัย วงสุดาวรรณ
dc.contributor.authorอาวุธ หมั่นหาผล
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะ
dc.contributor.authorแววตา ทองระอา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:46Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:46Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2357
dc.description.abstractการศึกษาคุณภาพน้ำชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตั้งแต่ปากแม่น้ำบางประกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงปากแม่น้ำตราด จังหวัดตราด ในพื้นที่การใช้ประโยชน์คุณภาพน้ำทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การว่ายน้ำ และบริเวณแหล่งอุตสาหกรรม รวม 76 สถานี ใน 7 เขตพื้นที่ โดยเก็บตัวอย่างรวม 2 ครั้ง คือ ในฤดูแล้ง (มีนาคม 2548) และฤดูฝน (ตุลาคม 2548) คุณภาพน้ำที่ศึกษา ได้แก่ แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรต ฟอสเฟต ซิลิเกต ออกซิเจนละลาย อุณหภูมิ ความเค็ม และความเป็นกรด-ด่าง ผลการศึกษาพบว่า น้ำทะเลมีคุณภาพดี มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งของประเทศไทย ยกเว้น ออกซิเจนละลาย ในฤดูแล้ง บริเวญปากแม่น้ำปากประกง และบางแสน มีค่าต่ำกว่ามาตรฐาน เมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้ำในแต่ละเขต พบว่าเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง บริเวณปากแม่นำบางปะกง-อ่างศิลาน้ำทะเลมีคุณภาพเสื่อมโทรมกว่าเขตอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) และมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงจาก 5 ปีที่ผ่านมาเล็กน้อย ในขณะที่เขตอื่นๆ คุณภาพน้ำใกล้เคียงกัน และใกล้เคียงกับอดีตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการจัดการคุณภาพน้ำ - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำ - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectน้ำทะเลth_TH
dc.titleสถานการณ์คุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งภาคตะวันออก ปี 2548th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume12
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeCoastal water Quality along the Eastern Coast of Thailand was investigated from Bangpakong estuary to Trat estuary covering the areas of aquaculture, recreation and industry. Water sample were collected from 75 stations of 7 areas in the dry (March 2005). The water quality parameters were analyzed including NH_3-N, NO_3-N, PO_4-P, SiO_2-Si, pH, dissolved oxygen (DO), suspended solid, temperature and salinity. The results showed that levels of coastal water quality were within Thai coastal water quality standard, except dissolved oxygen at Bangpakong estuary and Bangsean in the dry season. Comparing the water quality in each study area found that the deterioration of water quality in aquaculture are at Bangpakong estuary was significantly greater than the other areas (p<0.05) and its tendency was slightly more than the quality in past 5 years. Despite there was a similar water quality in the other areas and their quality were not much changed comparing with the quality in the past 5 years.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา
dc.page33-44.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p33-44.pdf13.84 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น