กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2349
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิสาตรี คงเจริญสุนทร
dc.contributor.authorปิยรัตน์ พิมพ์สวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:45Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:45Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2349
dc.description.abstractการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดรางจืด (Thunbergia laurifolia Linn) ด้วยเมทานอลเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับยาปฏิชีวนะคือ แอมพิชิลิน (ampicillin) และเตตราชัยคลิน (tetracycline) ในการยับยั่งการเจริญของแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบฉวยโอกาส 6 สายพันธ์ได้แก่ Escherichia coli ATCC 25913, Klebsiella pneumoniae, Proteus mirabilis, Pseudomonas aeruginosa, Acinetobacter bumannii และ Serratia marcessens ทำการวัดผลจากค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (minimum inhibitory concentration, MIC) ด้วยวิธี agar diffusion susceptibility test ซึ่งพบว่า สารสกัดจากรางจืดด้วยเมทานอลสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียกลุ่มฉวยโอกาสทุกชนิดที่นำมาทดสอบ โดยมีผลยับยั้งการเจริญของ P. aeruginosa ได้ดีที่สุด ที่ค่า MIC เท่ากับ 10 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร รองลงมามีผลต่อการเจริญของ K. pneumoniae, S. marcescens, and P. mirabilis (ที่ค่า MIC เท่ากับ 40 mg/ml) และมีผลต่อ E.coli ATCC25913 และ A. baumannii น้อยที่สุด (ที่ค่า MIC เท่ากับ 80 mg/ml) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับยาปฏิชีวนะ พบว่าสารสกัดรางจืดด้วยเมทานอลมีประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียแกรมลบฉวยโอกาสบางสายพันธ์ได้ในระดับที่ต่ำกว่าแอมพิชิลินและเตตราชัยคลินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าสารสกัดจากรางจืดสามารถใช้เป็นยาต้านจุลินทรีย์จากแหล่งธรรมชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectรางจืด (พืช)th_TH
dc.subjectสารต้านการติดเชื้อth_TH
dc.subjectเม็ทธานอลth_TH
dc.subjectแบคทีเรียแกรมลบth_TH
dc.titleฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบฉวยโอกาสบางสายพันธุ์ของสารสกัดเมทานอลจากรางจืดth_TH
dc.title.alternativeThe antimicrobial activity of a Methanol extract from Thunbergial laurifolia (L.) against some opportunistic gram negative bacteria
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume14
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeํThis research was aimedto study the antimicrobial activity of a methanol extract from Thunbergia laurifolia (L)against 6 strains of opportunistic gram negative bacteria : Escherichia coli ATCC25913, Klebsiell pneumoniae, Proteus mirabilis,Pseudomonas aeruginosa, Acinetobacter baumannii and Serratia marcescens. The experiments were tested by agar diffusion susceptibility test and evaluated by determining the minimum inhibitory concentration (MICs) of the extracts. The efficacy of antimicrobial activity of the extracts was also compared with two antibiotics, ampicillin and tetracycline. The results showed that various dilutions of methanol extract from T. oniae, laurifolia (L) could inhibit the growth of all bacterial strains tested with statistical significance (P<0.05). The most efficacy of antimicrobial activity was shown by the MIC of P. aeruginosa (10mg/ml) followed by the MICs of K. pneumoniae, S. marcescens, and P. mirabilis (40mg/ml). The least antimicrobial activity was E.coli ATCC25913 and A.baumannii (80 mg/ml). However, the efficacy of เมทานอล extract from T. laurifolia (L) was less than the efficacy of both antibiotics, ampicillin and tetracycline with statistical significance (P<0.05). From this study we can concluded that the methanol extract of T. lurifolia (L) can be a source of natural antimicrobial agent.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page8-17.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
8-17.PDF9.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น