กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2038
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิชมณี ยืนยงพุทธกาล
dc.contributor.authorสันทัด วิเชียรโชติ
dc.contributor.authorธีรารัตน์ อิทธิโสภณกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2038
dc.description.abstractจากการศึกษาผลของการใช้สารละลายออสโมติกในรูปแบบสารละลายผสมระหว่างน้ำตาลมะพร้าว (0-60%) กับน้ำตาลโอลิโกฟรุกโตส (0-60%) ผลการทดลองพบว่ามีผลทำให้ค่าการถ่ายเทมวลสาร ได้แก่ ค่า WL SG และ WR รวมถึงคุณภาพของลูกตาลอ่อนหลังการออสโมซิสด้านปริมาณความชื้น ค่า aw ปริมาณน้้าตาลทั้งหมด ค่าสี และคะแนนความชอบทางประสาทสัมผัสด้านลักษณะปรากฏ ด้านสี และด้านเนื้อสัมผัส แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การใช้สารละลายผสมมีผลให้ค่า WL SG และ WR เพิ่มขึ้นมากกว่าการใช้สารละลายน้ำตาลโอลิโกฟรุกโตสเพียงอย่างเดียว เท่ากับ 1.29-11.57% 2.09-2.64% และ 8.66-8.93% ตามล้าดับ จากการศึกษาผลของความเข้มข้นของแคลเซียมแลคเตทและกรดแอสคอร์บิกร่วมกับการใช้สภาวะสุญญากาศในการออสโมซิส พบว่า อิทธิพลร่วมของทั้ง 3 ปัจจัยมีผลต่อ ค่า WR ปริมาณน้ำตาล ปริมาณวิตามินซี ค่าสี และค่าความแน่นเนื้อ (p<0.05) และพบว่าไม่มีอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อความชอบด้านสี และความชอบด้านลักษณะปรากฏ (p≥0.05) สิ่งทดลองที่เหมาะสมที่สุดคือการใช้แคลเซียมแลคเตท 2% และกรดแอสคอร์บิก 2% ร่วมกับการใช้สภาวะสุญญากาศ การเตรียมขั้นต้นด้วยการออสโมซิสลูกตาลอ่อนช่วยลดเวลาในการท้าแห้งด้วยลมร้อนลงได้ 80 นาที เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ผ่านการเตรียมขั้นต้น โดยพบว่าผลิตภัณฑ์ลูกตาลกึ่งแห้งที่ผ่านการออสโมซิสมีปริมาณน้ำตาลทั้งหมด (5.55g/100g) ปริมาณแคลเซียม (198.47mg/100g) และปริมาณวิตามินซี (966.38mg/100g) มากกว่าลูกตาลกึ่งแห้งที่ไม่ผ่านการออสโมซิส รวมถึงได้รับคะแนนความชอบโดยรวมมากกว่าอยู่ในระดับชอบปานกลาง (p<0.05) โดยมีความปลอดภัยสำหรับการบริโภคที่อุณหภูมิอุณหภูมิห้องและอุณหภูมิตู้เย็น เมื่อเก็บรักษาอย่างน้อย 4 สัปดาห์ โดยลูกตาลกึ่งแห้งที่ผ่านการออสโมซิสได้รับความชอบโดยรวมมากกว่า 6 คะแนนขึ้นไป ตลอดเวลาการเก็บรักษาth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการออสโมซิสth_TH
dc.subjectลูกตาลอ่อนth_TH
dc.subjectสภาวะสุญญากาศth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectอาหารสุขภาพth_TH
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์ลูกตาลอ่อนกึ่งแห้งให้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพมูลค่าสูง ด้วยวิธีการออสโมซิสในสภาวะสุญญากาศร่วมกับการทำแห้งth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of intermediate moisture young palmyra (Borassus flabellifera) as high value functional food using vacuum osmotic dehydration combined with dryingen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwich@buu.ac.th
dc.author.emailteerarat@swu.ac.th
dc.author.emailsantad.w@psu.ac.th
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeEffect of using osmotic mixture solution consisted of coconut sugar (0-60%) and oligofructose (0-60%) was investigated. It was resulted statistically significant in the mass transfer, including the WL SG and WR as well as the quality of the young palmyra after osmosis process in terms of moisture content, aw value, total sugar content, color value and liking sensory scores in terms of appearance, color and texture (p<0.05). Using the mixture solution increased in WL SG and WR more than using oligofrutose alone as 1.29-11.57% 2.09-2.64% and 8.66-8.93%, respectively. The effect of calcium lactate concentration and ascorbic acid concentration combined with osmosis under vacuum pressure were carried out. Interaction of all three factors significantly affected the mass transfer, including the WL value, total sugar content, vitamin C content, color value and firmness value (p<0.05). There was no influence factors affected color liking and appearance liking (p≥0.05). The appropriate condition treatment was using 2% calcium lactate and 2% ascorbic acid under vacuum. Osmotic pretreatment of young palmyra reduced hot air drying time up to 80 minutes compared with non-pretreatment. Intermediate moisture young palmyra product with osmotic pretreatment had more total sugar content (5.55 g/100g) calcium content (198.47 mg/100g) and vitamin C content (966.38 mg/100g) than Intermediate moisture young palmyra product without osmotic pretreatment including received more overall liking score in moderately like level (p <0.05). Intermediate moisture young palmyra product was safely for consume during stored at room temperature and refrigerated temperature at least 4 weeks and gained more than 6 overall liking score along storage timeen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_041.pdf3.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น