กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1890
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิดา ตระกูลสุจริตโชค
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:55Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:55Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1890
dc.description.abstractเม็ดพอลิ(ไวนิลเบนซิล คลอไรด์-โค-สไตรีน-โค-ไดไวนิล เบนซิล) หรือ PVBC ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลถูกเตรียมโดยเทคนิคพอลิเมอไรเซซันแบบแขวนลอย เพื่อให้ได้เม็ดโคพอลิเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันตามต้องการจึงดัดแปลงโครงสร้างเคมีของเม็ดโคพอลิเมอร์ 2 ขั้นตอน ด้วยปฏิกิริยาแทนที่ของโซเดียมเอไซด์และปฏิกิริยาคลิ๊ก ซึ่งทำให้เกิด azide-alkyne cycloaddition กับลิแกนด์ตามภาพที่แสดงด้านล่างนี้ จากนั้นวิเคราะห์สมบัติของเม็ดโคพอลิเมอร์ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ การบวมตัว, การการจายขนาดของเม็ดโคพอลิเมอร์, กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด (SEM), อินฟราเรด สเปกโตรสโคปี (FT-IR) และ เอนเนอร์จี ดิสเพอซีฟเอกกกซ์เรย์ สเปกโตรสโคปี (EDX) ประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลู (MB) ของโคพอลิเมอร์ถูกวิเคราะห์โดยยูวี-วิสสิเบิลสเปกโตรสโคปี ผลการศึกษาอิทธิพลของความเข้มข้นของสารละลาย, เวลา และ pH ต่อประสิทธิภาพการดูดซับในสารละลายสีย้อม พบว่าพฤติกรรมการดูดซับสอดคล้องกับรูปแบบของ Langmuir adsorption isotherm และจลนศาสตร์การดูซับตามสมการ pseudo second order ค่าคงที่ทางเทอรืโมไดนามิกส์ (G <0, H > 0, S > 0) แสดงว่าการดูซับเกิดขึ้นได้ทันทีและเป็นแบบดูความร้อน นอกจากนี้ประสิทธิภาพการดูดซับสูงสุดแสดงให้เห็นว่ามีความเป็นไปได้ที่จำพัฒนาเม็ดโคพอลิเมอร์เพื่อใช้ในการบำบัดน้ำth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพอลิเมอไรเซชันth_TH
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการสังเคราะห์เม็ดพอลิ(VBC/ ST/ DVB) ที่มีหมู่ฟังก์ชั่นนัลบนผิวหน้า โดยปฏิกิริยาคลิ๊กสำหรับใช้กำจัดสีย้อมในน้ำth_TH
dc.title.alternativeSynthesis of surface functionalized poly(VBC/ST/DVB) beads via click reaction for the removal of dyes in aqueous solutionen
dc.typeResearch
dc.author.emailthanida@buu.ac.th
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe cross linked co-polymer beads, poly (vinylbenzyl chloride-co-styrene-co-diviny benzene) or PVBC, were produced from suspension polymerization. In order to obtain fictionalized beads, the co-polymer was modified by 2 steps which were the substitution reaction of sodium azide and the azide-alkyne cycloaddition with propargyl alcohol ligand via “click” reaction (see the following reaction scheme). The fictionalized beads were characterized by swelling study, sieve analysis, scanning electron microscopy (SEM), Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR) and Energy-dispersive X-ray spectroscopy (EDX). The adsorption capacity of the beads was investigated by UV-Visible spectrometry. The effects of solution concentration, time and pH on the adsorption capacity were investigated in artificial waste water containing m ethylene blue (MB). The adsorption Langmuir adsorption isotherm model and the pseudo second order kinetics equation. The thermodynamic results (G < 0, H> 0, S> 0) indicated that the adsorption process was possible, spontaneous and endothermic in nature. In addition, the maximum adsorption capacity of the co-polymer beads implied their potential for a application in water treatmenten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_067.pdf2.36 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น