กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1672
ชื่อเรื่อง: การยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันและฤทธิ์ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ของน้ำชาขลู่
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Inhibitory effect on lipid peroxidation and antimutagenicity of the herbal tea from Pluchea indica Less
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ชัชวิน เพชรเลิศ
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ: น้ำชาขลู่
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
วันที่เผยแพร่: 2558
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: ขลู่เป็นพืชในวงศ์ 3 Compositae หรือ Asteraceae มีสรรพคุณทางยาซึ่งใช้ กันมาแต่ โบราณในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้รวมทั้งในประเทศไทย ด้วย ใบขลู่ ถูกใช้บรรเทาอาการทางระบบประสาทและรักษาการอักเสบ ส่ วนเปลือกสามารถรักษาโรคริดสีดวงทวาร นอกจากนี้ ใบของขลู่ ยังสามารถนำมา เตรียมเป็นชาสำหรับดื่มเพื่อบำรุงสุขภาพ อย่างไรก็ตาม ฤทธิ์ทางชีวภาพในรูปของชายังไม่ มีการศึกษามากนัก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 3 เพื่อที่จะศึกษา ผลของการเก็บที่อุณหภูมิห ้องในที่มืดของชาขลู่ ต่อปริมาณฟีนอลรวมปริมาณฟลาโวนอยด์รวม การเกิดลิพิดเปอร์ 3 ออกซิเดชันโดยดูจากค่าเปอร์ 3 ออกไซด์ 3 ค่าคอนจูเกตไดอีน ค่า TBARS อีกทั้งยังทำการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ 3 และฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ 3 ของชาขลู่ ด้วยวิธีเอมส 3 ต่ออะมิโนไพรีน-ไนไตรท 3 ในแบคทีเรีย Samonella typhimurium สายพันธุ์ 3 TA 98 และ TA100 ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ปริมาณฟีนอลรวมของ ชาขลู่ หลังจากเก็บไว้ นาน 3 เดือน เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเป็น 992.251±0.005 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิก/ กรัมของส วนสกัด และปริมาณฟลาโวนอยด์ 3 รวมก็เพิ่มขึ้นเช่ นกัน (482.76±0.001 มิลลิกรัมสมมูลของเควอร 3 เซติน/ กรัมของส วนสกัด) ค่าเปอร์ 3 ออกไซด์ 3 (PV) ณ ตอนเริ่มทำการ ทดลองเพิ่มขึ้นเป็น 91.11% และ 98.52% หลังจากบ่ม 48 ชั่วโมง แต่หลังจากเก็บไว ้นาน 3 เดือน ค่า PV กลับลดลงอย่างเห็นได้ ชัดเหลือ 83.22% ที่ความเข้มข้นสูงสุดของสารสกัดใบชาขลู่ที่ใช ้ในการทดลอง ยิ่งไปกว่านั้น ค่าคอนจูเกตไดอีน (CD) และ TBARS ถูทำให้ ลดลงอย่างมากเมื่อมีสารสกัดจากใบชาขลู่ โดยความสามารถนี้เพิ่มขึ้นตามปริมาณของสารสกัด ค่า CD ระหว่างการเก็บเป็นเวลา 3 เดือน ลดลงอย่างมีนัยสำคัญจาก 60.31% เหลือเพียง 25.78% เมื่อบ่มทำปฏิกิริยาเป็นเวลา 72 ชั่วโมง ค่า IC50 ของสารสกัดต่ อค่า TBARS ระหว่างการเก็บเป็นเวลา 3 เดือนเพิ่มขึ้นจาก 0.487±0.001 เป็น 0.497±0.000 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร สำหรับการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ 3 ด ้วยวิธีเอมส 3 จากการศึกษาแสดงให้ เห็นว่าชาขลู่ ไม่ก่อให้ เกิดการกลายพันธุ์ 3 ในระบบที่ใช้ในการทดลอง นอกจากนี้ชาขลู่ ที่ความเข้ มข้น 0.625 มิลลิกรัมต่อเพลทยังแสดงฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ 3 สูงสุด (ยับยั้งได้ 62.5% ในสายพันธุ์ 3 TA 98 และ 55.2% ในสายพันธุ์ 3 TA 100 ด้ วยวิธีทดสอบเอมส์
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1672
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_012.pdf525.73 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น