กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1344
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญรัตน์ ประทุมชาติth
dc.contributor.authorกระสินธุ์ หังสพฤกษ์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:27Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:27Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1344
dc.description.abstractทำการปรับสภาพกุ้งขาวระยะคราบแข็ง (Intermolt stage) น้ำหนัก 22 กรัม ความยาว 13 เซนติเมตร ที่ความเค็มน้ำ 25 ppt นาน 7 วัน แล้วนำกุ้งย้ายมาที่ความเค็ม 15 ppt และ 40 ppt ทันที ดำเนินการ 5 ซ้ำต่อการทดลอง แล้วบันทึกพฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกาย เมื่อเวลาผ่านไป 30 นาที และ 12 ชั่วโมง และนำกุ้งทดสอบและชุดควบคุมอีกส่วนหนึ่งที่ปรับสภาพนาน 30 นาที ไปเก็บเลือดเพื่อไปตรวจวัดความเข้มข้นของโซเดียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียม และคลอรีน จากการทดลองพบว่า กุ้งสามารถควบคุมสมดุลแร่ธาตุทั้ง 5 ชนิดให้คงที่ไว้ได้ในน้ำความเค็ม 10 ppt โดยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) กับชุดควบคุม ขณะที่ความเค็ม 40 ppt กุ้งขาวสามารถควบคุมโซเดียมและแมกนีเซียมให้มีความเข้มข้นคงที่ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) กับชุดควบคุมกับความเข้มข้นของคลอรีนและโปรแตสเซียมมีความเข้มข้นสูงกว่าชุดควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ขณะที่แคลเซียมพบว่า มีความเข้มข้นต่ำกว่าชุดควบคุม และที่ 10 ppt อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การเพิ่มความเค็มน้ำส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและลักษณะทางกายภาพสูงกว่าการลดความเค็มน้ำ โดยพบว่าเมื่อระยะเวลายาวนานขึ้นทั้งการลด และเพิ่มความเค็มน้ำมีแนวโน้มของอาการผิดปกติสูงขึ้น แต่ไม่มีผลกระทบต่ออัตราการรอดth_TH
dc.description.sponsorshipรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ งบประมาณแผ่นดิน (วช.) ประจำปี พ.ศ. 2556en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้ง - -การเลี้ยงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของการเปลี่ยนแปลงความเค็มอย่างเฉียบพลันต่อการรอดตาย พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และสรีระเคมีของกุ้งขาววัยรุ่น (Litopenaeus vannamei)th_TH
dc.title.alternativeEffect of Studdenly Changes of salinity on survival, Behavior, Physical characters and Physiochemical changes of Litopenaeus vannamei juvenileen
dc.typeResearch
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeIntermolt shrimp (Litopenaeus vannamei) with average size of 22 g and 13 cm in total length were acclimated at 25 ppt for 7 days. They were suddenly transferred to 10 ppt and 40 ppt, respectively then behavior and physical characters were recorded at 30 minutes and 12 hrs. Furthermore, the haemolymph of some experimental shrimp and control at 30 mins for acclimation were individually collected for checking concentrations of Na, K, Cl, Mg and Ca. The results showed that shrimp at 10 ppt could maintain the concentrations of 5 Minerals which were not significantly different (p>0.05) from those of control. Concentrations of Na and Mg of shrimp at 40 ppt were not significantly different (p>0.05) from those of control, but K and Cl were significantly (p<0.05) higher than those of control and Ca concentration was significantly (p<0.05) lower than that of control and 10 ppt. Behavior and external characters of shrimp was rather highly affected when they were suddenly changed to high salinity. Percent deformity of shrimp was an increased when they encountered the longer period both low and high salinity. However, survival of shrimp was not significantly (p>0.05) affected by suddenly change of salinity.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น