กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10232
ชื่อเรื่อง: บริบทของการลงทุนเพื่อส่งเสริมนโยบายการลงทุนในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของประเทศไทยในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern economic corridor : EEC)
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Investment context to promote investment policy of thilnd's biofuel nd biochemicl industries in the estern economic corridor
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ธีทัต ตรีศิริโชติ
ศุภรีย์พรรณ นันทวาสน์
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
คำสำคัญ: วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิง -- การลงทุน
วันที่เผยแพร่: 2563
สำนักพิมพ์: วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการใช้โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ จากกิจกรรมทดสอบความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์รวมทั้งศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมอง (คลื่นอัลฟ่า คลื่นเบต้า) ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมวิจัยจากชมรมผู้สูงอายุและคลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 60 คน อายุระหว่าง 60-75 ปีแบ่งออกเป็น กลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน โปรแกรมการฝึกมี 3 ช่วง ช่วง ละ 27 นาที จำนวน 14 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบทดสอบ Psychology Experiment Building Language (PEBL) ด้วย Corsi Block-Tapping Task, Emotiv EPOC EEG Headset, MMSE, PHQ-9, WHOQOL และ ST-5 การวิเคราะห์ทางสถิติใช้การทดสอบทีแบบอิสระและไม่ อิสระ ผลการศึกษาพบว่า 1) โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือมีการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ 2) กลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกโปรแกรมอย่างเป็นประจำ พบว่า มีคุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบื้องต้น (MMSE) ลดลง ระดับความเครียดและภาวะ ซึมเศร้าลดลง และ มีความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์โดยมีช่วงของความจำ (Memory span) เพิ่มขึ้น นอกจากนี้กลุ่มทดลองมีคลื่นอัลฟ่าและคลื่นเบต้าที่สมองบริเวณส่วนหน้า ส่วนพา ไรทัล และส่วนท้าย สูงกว่ากลุ่มควบคุมหลังได้รับการฝึกโปรแกรมการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ดังนั้นสรุปได้ว่า โปรแกรมการกระตุ้นประสานสัมพันธ์ตาและมือ สามารถเพิ่มความจำขณะคิดด้านภาพและมิติสัมพันธ์ของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
รายละเอียด: ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
URI: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10232
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
57870032.pdf6.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น