กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10219
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorพรรัตน์ แสดงหาญ
dc.contributor.authorรมิตา ประวัติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned2023-09-18T07:56:51Z
dc.date.available2023-09-18T07:56:51Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10219
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา 3) ศึกษาปัจจัยด้านลักษณะงานที่มีผลกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา 4) ศึกษาปัจจัยด้านประสบการณ์ในงานที่ปฏิบัติที่มีผลกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จำนวน 337 ราย ผลการทดสอบความเชื่อมั่น เครื่องมือที่ 0.960 ในการวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรอยู่ในระดับสูง 2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร คือ สถานภาพ ส่วนเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตeแหน่ง รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาการปฏิบัติงานไม่มีผลต่อ ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร 3) ปัจจัยด้านลักษณะงานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร คือ ด้านความหลากหลายของงาน ด้านความท้าทายของงาน ด้านความก้าวหน้าของงาน ด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน ด้านงานที่มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4) ปัจจัยด้านประสบการณ์ในงานที่ปฏิบัติที่มีผลกับความผูก พันต่อองค์การของบุคลากร คือ ด้านทัศนคติต่อเพื่อนร่วมงานและองค์กรด้านความรู้สึกว่าตนมีความสำคัญต่อองค์กร และด้านความรู้สึกว่าองค์กรเป็นที่พึ่งพาได้ส่วนด้านความคาดหวัวที่ได้รับการตอบสนองจากองค์กรไม่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectบุคลากรโรงพยาบาล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่ององค์กรของบุคลากรโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
dc.title.alternativeFctors ffecting orgniztionl enggement of personnel t queen svng vdhn memoril hospitl
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) to investigate the organizational engagement of personnel in Queen Savang Vadhana Memorial Hospital, 2) to study the personal factors affecting organizational engagement of personnel in Queen Savang Vadhana Memorial Hospital, 3) to study work nature factors affecting organizational engagement of personnel in Queen Savang Vadhana Memorial Hospital, and 4) to study the work experience factors affecting organizational engagement of personnel in Queen Savang Vadhana Memorial Hospital. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. The sample consisted of 337 personnel at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital. The instrument’s reliability was 0.960. Data were then analyzed using descriptive statistics to determine frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested by multiple regression analysis. The major findings indicated that 1) overall organizational engagement of the sample was at a high level, 2) a personal factor affecting organizational engagement of the sample was marital status. However, gender, age, education level, work position, monthly income, and length of service did not affect organizational engagement of personnel, 3) work nature factors affecting organizational engagement of the sample were work diversity, work challenges, work advancement, participation in work management, opportunity for interaction with others, 4) work experience factors affecting organizational engagement of the sample attitude towards co-workers and the organization were their feeling of being import and contributable to the organization, and their feelings of organizational dependability. In contrast, expectations of organizational responsiveness did not affect the personnel’s organizational engagement with a statistical significance level of 0.05
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineคณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
61920164.pdf1.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น