DSpace Repository

ตลาดโพธารามชุมชนพหุวัฒนธรรมลุ่มน้ำแม่กลอง : การจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรม

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.advisor ภูวษา เรืองชีวิน
dc.contributor.author ซิน, ฮองโบ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.contributor.other Qin, Hongbo
dc.date.accessioned 2023-06-06T03:54:20Z
dc.date.available 2023-06-06T03:54:20Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8554
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่อง ตลาดโพธารามชุมชนพหุวัฒนธรรมลุ่มน้ำแม่กลอง: การจัดการพื่นที่ทางวัฒนธรรม เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ ความเป็นสังคม พหุวัฒนธรรมชุมชนตลาดโพธาราม ประเมินศักยภาพชุมชนและเสนอแนวทางการจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมชุมชนให้เกิดคุณค่าและมูลค่าอย่างยั่งยืน ด้วยวิธีการศึกษาเอกสารและการสํารวจ พื้นที่เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนตลาดโพธารามเป็นย่านตลาดเก่าที่มีชาวจีน ชาวมอญ ชาวลาว และชาวไทยร่วมกันอาศัยตั้งแต่สมัยโบราณ มีการผสมกลมกลืนทั้งทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติ เรื่อยมา กลุ่มชาติพันธุ์คงรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนด้วยการสืบทอดประเพณี พิธีกรรม ภูมิปัญญา และมีการผสมผสานกันอย่างลงตัวอันเป็นจุดเด่นของชุมชนตลาดโพธาราม และมี ความต้องการจัดการวัฒนธรรมชุมชนผ่านการจัดการท่องเที่ยวและแหล่งการเรียนรู้ชุมชน วิธีดําเนินการนั้น ควรมีการจัดการให้เกิดองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมเพื่อนําไปสู่กระบวนการอนุรักษ์ พื้นที่กายภาพ วัตถุทางวัฒนธรรม ศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรม ความรู้ภูมิปัญญา วิถีชีวิต ความทรงจํา และพื้นที่เชื่อมโยงทางวัฒนธรรม เผยแพร่องค์ความรู้เหล่านี้ให้ผู้คนทั้งภายในและภายนอกได้ ศึกษาเรียนรู้ด้วยการจัดทําฐานข้อมูลความรู้ การพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยว แหล่งการเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้คนในชุมชน ทั้งนี้การดําเนินการจัดการต้องกระตุ้นจิตสํานึกการอนุรักษ์และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมชุมชนของผู้คนในตลาดโพธาราม ดึงดูดให้ผู้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการมากที่สุด บูรณาการชุมชนพหุวัฒนธรรมที่อยู่บริเวณโดยรอบให้ร่วมกันจัดการอย่างเป็นองค์รวม กระจายรายได้จากการจัดการอย่างทั่วถึง และดําเนินการประเมินผลการจัดการอย่างต่อเนื่องเพื่อการจัดการที่ยั่งยืน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การอนุรักษ์วัฒนธรรม
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.subject วัฒนธรรม
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ไทย -- ราชบุรี
dc.title ตลาดโพธารามชุมชนพหุวัฒนธรรมลุ่มน้ำแม่กลอง : การจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรม
dc.title.alternative การจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรม,Phothrm mrket, culturl plurlism-community on meklong river bsin: culturl re mngement
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research entitled “Photharam Market, a Cultural Pluralism-Community on Maeklong River Basin: Cultural Area Management” which is an adoption of qualitative researchand aimed at studying the history of an existence of multiple cultural society and potentials of Photharam market community to propose the way to conserve the multicultural society as well as to manage the cultureof cultural pluralism-community leading to an attainment of its value includingsustainability through documentary search and in-depth survey of the area. The findings revealed that Photharam market community is an old market area where Chinese, Mons, Laotians, and Thais have lived together since ancient time with a blend of culture and races. That is the cultural pluralism-community in which each ethnic still keeps its own identity through its inheritance of customs, ritual, and wisdom, as well as its harmony, which has been an outstanding attraction of Photharam market. There has been a need for the community culture management in order to further inherit the ethnic culture through means of tourism and learning community. The implementations with this regard are to provide management to encourage cultural body of knowledge leading for conservation process of the cultural areas, namely physical areas, cultural objects, arts, customs and culture, knowledge and wisdom, ways of life, memory, as well as culturally connected areas. It also aimed to disseminate the mentioned body of knowledge to those in both local and outside the region so that they would learn through provisions of the data based knowledge pertaining to tourist attractions development, arts andculture learning sources and centers, including arrangement of various cultural activities in order to promote the locals’ careers and income. With this regard, the management implementation needs to encourage conservation awareness and pride in the culture of their community, attract their participations for the management the most, integrate the nearby multicultural communities for the purpose of holistic co-management, and thoroughly distribute management income, as well as periodically evaluate the management for its sustainability.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม
dc.degree.name ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account