DSpace Repository

ทรัพยากรปลาบริเวณชายฝั่งภาคตะวันออกเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (สนองพระราชดาริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)

Show simple item record

dc.contributor.author วิภูษิต มัณฑะจิตร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-03-15T09:10:30Z
dc.date.available 2021-03-15T09:10:30Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4014
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 th_TH
dc.description.abstract จากการเก็บตัวอย่างปลาทะเลบริเวณแหล่งทำการประมงและแหล่งค้าขายของจังหวัดชลบุรี ใน ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๒ พบปลารวม ๑๓๔ ชนิด จาก ๕๕ วงศ์ ๑๙ อันดับ และ ๒ คลาส โดยเป็นปลากระดูกอ่อน ๓ อันดับ ๑๕ ชนิด ปะกอบด้วยปลาฉลาม ๕ ชนิด ปลาโรนัน ๒ ชนิด ปลากระเบน ๙ ชนิด ปลากระดูกแข็งพบ ๑๖ อันดับ ๑๒๑ ชนิด เมื่อพิจารณาฤดูทำการประมงพบชนิดปลาในฤดูแล้งมากกว่าในฤดูฝน โดยในฤดูแล้งพบปลา ๑๑๐ ชนิด โดยเป็นปลาที่พบเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ๖๖ ชนิด มากกว่าจำนวนชนิดของปลาที่พบเฉพาะในฤดูฝนที่พบปลา ๕๖ ชนิด โดยมีปลา ๔๘ ชนิด ที่พบได้ในทั้งสองฤดูและเมื่อพิจารณาพื้นที่การใช้ประโยชน์ พบว่าแหล่งอนุรักษ์พบปลาที่ถูกจับและจำหน่ายมีความหลากชนิดมากที่สุดเฉลี่ย ๓๗ ชนิด รองลงมาเป็นแหล่งประมง ๓๑ ชนิด แหล่งท่องเที่ยว ๒๘ ชนิด ในขณะที่แหล่งอุตสาหกรรมพบปลาที่ถูกจับและจำหน่ายมีความหลากชนิดน้อยที่สุดคือ ๒๒ ชนิดเมื่อพิจารณาชนิดของปลาโดยเฉพาะที่ถูกนำมาจำหน่าย พบว่าเป็นปลาจากแหล่งอื่นไม่ใช่จากจังหวัดชลบุรี หรือภายในอ่าวไทย แต่ถูกนำมาจากจังหวัดทางฝั่งทะเลอันดามัน เช่น ปลากระเบนนก (Aetobatus narinari) ปลานกแก้ว (Scarus ghobban, Scarus niger และ Scarus viridifucatus) และปลานกขุนทองลายพาดกลอน (Cheilinus fasciatus) นอกจากนี้ยังพบปลาที่มีลักษณะปกติทางกายวิภาค โดยเฉพาะปลากระเบน Maculabatis gerrardi มีการพัฒนาผิดปกติซึ่งไม่ทราบสาเหตุ ในระหว่างเวลาของการศึกษาครั้งนี้ การทำการประมงของประเทศไทยอยู่ในช่วงการใช้มาตราการแก้ปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย (IUU) มีผลกระทบต่อชาวประมงในอีกทางหนึ่ง ผลดีต่อทรัพยากรประมงในระยะยาว แต่ก็ประเทศไทยต้องมีการบริหารจัดการประมงที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปลา -- การอนุรักษ์ th_TH
dc.subject ปลาทะเล th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ทรัพยากรปลาบริเวณชายฝั่งภาคตะวันออกเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (สนองพระราชดาริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) th_TH
dc.title.alternative Fish resources on the coastal area of the east of Thailand (Under the Plant Genetic Conservation Project Under the Royal Initiative of Her Highness Princess Maha Chakri) en
dc.type Research th_TH
dc.author.email vipoosit@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative Marine fishes be found in Chonburi Province were collected at different location according to human activities during 2007-2009. A total of 137 species from 55 families, 19 orders and 2 classes were recorded. For the Elasmobranchii, 4 orders as Orectolobifromes, Carcharhiniformes, Rhinobatiformes and Myliobatiformes were recorded while the Actinopteri found 16 order. According to the fisheries seasons, only the dry season found 66 species while only the rainy season found 56 species and there are 48 species can be found on both seasons. Considering the area according to land used, it was found that the conservation areas have the highest richness of fishes as the average number of 31 species while the fisheries, tourisms and industries found 31, 28 and 22 species respectively. The fishes those be collected or sold in Chonburi Province do not only come from the eastern part of the Gulf of Thailand. Some fishes were transported from the Ranong province which mean those fishes be caught from the Andaman Sea. There were, for example, Eagle ray (Aetobatus narinari), Parrot fishes (Scarus ghobban, Scarus niger, Scarus viridifucatus and Redbreasted wrasse (Cheilinus fasciatus). Furthermore, there were morphologic abnormal fishes, especially Whitespotted Whipray (Maculabatis gerrardi), be found but the cause is unknown. During this study, the fisheries activites in Thailand was under the Illegal, Unreported and Unregulated fishing (IUU Fishing). This situation caused the problem to the most commercial fishing boats but on the other hand had a positive effect to the fishery resources. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account