DSpace Repository

การปลูกมันสำปะหลังแบบสลับระหว่างพันธุ์ต้านทาน 2 พันธุ์ เพื่อควบคุมการเข้าทำลายของโรคและแมลง

Show simple item record

dc.contributor.author ประทีป อูปแก้ว th
dc.contributor.author ยุทธจักร วงษ์วัฒนะ th
dc.contributor.author บุญชู มั่งคั่ง th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:31Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:31Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1388
dc.description.abstract โรคและแมลงในมันสำปะหลังเป็นปัญหาใหญ่ของเกษตรผู้ปลูกมันสำปะหลังในประเทศไทย การเข้าทำลายของโรคและแมลงทำให้ผลผลิตลดลง การใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงทำให้เกษตรสูญเสียรายและส่งผลต่อสภาพแวดล้อมซึ่งการใช้พันธุ์ต้านทานเป็นวิธีหนึ่งที่ได้ผล เนื่องจากว่าได้มีรายงานว่าการพืชแบบสลับกันจะช่วยรถเข้าทำลายของโรคและแมลงในแปลงได้ ผลการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเป็นไปได้ในการควบคุมการเข้าทำลายโรคและแมลงโดยการปลูกแถวสลับพันธุ์ระหว่างพันธุ์มันสำปะหลัง ใจดำเนินการทดลอง 3 การทดลองระหว่างปี 2553 -2555 การทดลองที่ 1 ประเมินคุณ ภาพและการแก่งแย่งแข่งขัน ของการเจริญเติบโต ของท่อนพันธุ์ในพันธุ์มันสำปะหลัง พบว่าน้ำหนักแห้งของท่อนพันธุ์และน้ำหนักแห้งด้น ใบ และรากที่อายุ 2 เดือนในมันสำปะหลัง 3 พันธุ์แตกต่างกัน ส่วนเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของธาตุ อาหารในท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ไม่แตกต่างกัน แต่เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของธาตุฟอสฟอรัสแตกต่างกันที่อายุ 2 เดือน ทดลองที่ 2 ประเมินการเข้าทำลายของโรคและแมลงต่อปลูกมันสำปะหลังแบบสลับและแบบเดี่ยวที่ใช้พันธุ์มันสำปะหลังที่อัตราส่วนต่างกันในแปลงเกษตรกร พบว่ามีการเข้าทำลายเพลี้ยแป้งในแปลง ส่วนโรคและแมลงอื่นๆพบเล็กน้อยหรือไม่พบเลย โดยมันสำปะหลังพันธุ์เกษตรสาสตร์50 และห้วยบง60 ที่ปลูกสลับแบบ1:1 และ 2:2 พบจำนวนเพลี้ยแป้งสีเขียวน้อยกว่ามันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง60 และระยอง9 ที่ปลูก เชิงเดี่ยวที่ระยะเก็บเกี่ยว 10 เดือน น้ำหนักผลผลิตหัวมันสดในมันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์50 และห้วยบง60 ที่ปลูกสลับแบบ1:1 และ 2:2 มากกว่าพันธุ์ถูกห้วยบง60 และระยอง9 ที่ปลูกเชิงเดี่ยวตามลำดับ แด่ไม่แตกต่างกับพันธุ์ศาสตร์50 ที่ปลูกเชิงเดี่ยวประสิทธิภาพของการปลูกสลับโดยใช่ค่า LER (Land Equivalent Ratio) พบว่าการปลูกสลับระหว่างพันธุ์เกษตรศาสตร์50 และห้วยบง 60 ที่ อัตรา 1:1 มีค่ามากกว่า 1 ในผลผลิตหัวมันหัวสดและมันแห้งที่ระยะเก็บเกี่ยว 10 เดือน การทดลองที่ 3 ประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรในการต้านทานโรคและแมลงในการปลูกมันสำปะหลังแบบสลับพบว่าเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังพอใจในการด้านทาน โรคและแมลงของการปลูกสลับในระดับมาก และต้องการปลูกมันสำปะหลังแบบสลับในอัตราส่วน 2:2 จากการศึกษาการปลูกสลับพันธุ์มันสำปะหลังสามารถลดการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งและลดความเสียหายของผลผลิตได้กว่าการปลูกมันสำปะหลังเชิงเดี่ยว โดยขึ้นอยู่กับพันธุ์มันสำปะหลังที่ใช้ปลูก ระยะเวลาและความรุนแรงของการเข้าทำลาย th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนโครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานรากปีงบประมาณ 2553 จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว th_TH
dc.subject มันสำปะหลัง - - การปลูก th_TH
dc.subject เพลี้ยแป้ง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การปลูกมันสำปะหลังแบบสลับระหว่างพันธุ์ต้านทาน 2 พันธุ์ เพื่อควบคุมการเข้าทำลายของโรคและแมลง th_TH
dc.title.alternative Interplanting of two resistance cassava varieties for controlling diseases and insects infestation in cassava en
dc.type Research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative Plant diseases and insects are a serious problem in farmers cassava filed in Thailand. The damage to cassava crop by diseases and insects can lead to yield losses. To control the diseases and insects with chemicals are costly with possible harmful impact to the environment. Resistant cassava varieties offer one solution for the control of diseases and insects infestation. Since it has been shown that interplanting of plant varieties reduced infection by the diseases and insects. The objective of this study was to evaluate interplanting of cassava varieties for controlling diseases and insects infestation cassava. The studies were consisted of 3 experiments in 2010 to 2012. The first experiment was conducted to evaluate the quality and growth competition of stalk cassava varieties. The weight dry of stalk and stem, leaf and root of cassava varieties in 2 months after planting were differed. The percentage of nutrient concentrate in stalk cassava varieties weren’t differences bu the percentage of phosphorus concentrate in stem, leaf and root were differed among cassava varieties. The second experiment was conducted to evaluate the infestation of diseases and insect in cultivars in pure varieties and in 2 mixtures. The results shown that the mealy bugs infested in the cassava filed but the other insects and diseases were little and no found. The green mealy bug in the mix cassava varieties between Kasetsart50 and Huai Bong60 in 1:1 and 2:2 had lower than the Huai bong60 and RAyong9 in pure cultivars at 10 months of harvested. Moreover, the yield of the mix cassava varieties between Kasetsart50 and Huai bong60 in 1:1 and 2:2 had more than the Huai Bong60 and Rayong9 in pure cultivars but it were differed among Kasetsart50 in pure cultivar. The Land Equivalent Ratio (LER) of Fresh yield and dray yield intercropping cassava varieties between Kasetsart50 and Huai bong60 at 10 months of harvested had more than 1. The last experiment assessed the satisfaction of farmer’s cassava to resistance of diseases and insects in interplanting of cassava varieties. The result shown that satisfaction of farmer’s cassava in level of diseases and insets resistance were good level and selected the mix cassava varieties between Kasetsart50 and Huai bong60 in 2:2. From this study, it was concluded that interpplanting varieties of cassava can sometimes reduce mealy bugs infestation and prevent yield loss. However, this effect varied with cassava varieties and time when infestation was assessed. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account