กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3644
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-07-22T08:31:20Z
dc.date.available2019-07-22T08:31:20Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3644
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีการแช่แข็งและการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาด้วยการใช้ถัง ไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์สัตว์น้ำ ทำการศึกษาความเป็น พิษของสารไครโอโพรเทคแทนท์ที่มีต่อการเคลื่อนที่สเปิร์มปลา และพัฒนาเทคโนโลยีแช่แข็งน้ำเชื้อปลา ด้วยการใช้ถังไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับเพื่อประโยชน์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์ เปรียบเทียบกับการแช่แข็งวิธีอื่น ๆ โดยนำน้ำเชื้อปลามาเจือจางในสารละลาย Calcium-free Hanks’s balanced solution ที่มีสารไครโอโพรเทคแทนท์ชนิดต่าง ๆ 4 ความเข้มข้น (5, 10, 15 และ 20%) ที่ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส พบว่า สารละลายไครโอโพรเทคแทนท์ DMSO มีความเป็นพิษต่ำต่อสเปิร์ม ปลาตะเพียนขาวและสเปิร์มปลาสวาย การพัฒนาวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อปลาด้วยการใช้ถังไนโตรเจนเหลว ชนิดมีวัสดุดูดซับ เปรียบเทียบกับการใช้ไอไนโตรเจนเหลวในกล่องโฟม หรือการใช้น้ำแข็งแห้งในกล่องโฟม เพื่อแช่แข็งน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาวและปลาสวาย โดยนำน้ำเชื้อปลามาเจือจางใน Ca-F HBSS ที่มี 10% DMSO พบว่าน้ำเชื้อปลาที่แช่แข็งด้วยการใช้ถังไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับ หรือน้้าเชื้อปลาที่แช่แข็ง ด้วยการใช้น้่ำแข็งแห้งในกล่องโฟม มีการเคลื่อนที่ของสเปิร์มที่มีค่าต่ำกว่าน้ำเชื้อปลาที่แช่แข็งด้วยการใช้ ไอไนโตรเจนเหลวในกล่องโฟมอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P<0.05) การแช่แข็งน้ำเชื้อปลาด้วยการใช้ถัง ไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับแม้ว่าจะให้การเคลื่อนที่ของสเปิร์มหลังการละลายประมาณ 20-40% แต่ ก็ได้แสดงให้เห็นถึงการนำถังไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับมาใช้ประโยชน์สำหรับการแช่แข็งน้ำเชื้อปลา เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์สัตว์น้ำth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำเชื้อ - - การเก็บและรักษาth_TH
dc.subjectการอนุรักษ์สัตว์น้ำth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาเทคโนโลยีการแช่แข็งและการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาด้วยการใช้ถังไนโตรเจนเหลวชนิดมีวัสดุดูดซับเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการอนุรักษ์สัตว์น้ำth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of cryopreservation and cryostorage technology of fish sperm by liquid nitrogen dry shipper for aquaculture and conservationen
dc.typeResearchen
dc.author.emailverapong@buu.ac.th
dc.author.emailsubunti@buu.ac.th
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research project entitled “Development of cryopreservation and cryostorage technology of fish sperm by liquid nitrogen dry shipper for aquaculture and conservation” was aimed to investigate the effects of cryoprotectant toxicity on sperm motility and the application of liquid nitrogen dry shipper on freezing of fish sperm for aquaculture and conservation. Fish milt were diluted in different cryoprotectants at four concentration levels (5, 10, 15 and 20%) at 4C. Dimethylsulfoxide (DMSO) was found to be the least toxic cryoprotectant for silver barb (Barbodes gonionotus) and striped catfish (Pangasianodon hypophthalmus) milt. Development of fish sperm cryopreservation of the two fish species with liquid nitrogen dry shipper was investigated in comparison with the other two freezing protocols (liquid nitrogen vapor in Styrofoam box and dry ice in Styrofoam box). Fish sperm cryopreserved with the dry shipper or dry ice had significantly lower (P<0.05) post-thawed sperm motilities than those of frozen with liquid nitrogen vapor in styrofoam box. Despite relatively low post-thawed sperm motility at about 20-40%, the use of liquid nitrogen dry shipper on freezing fish sperm was useful for aquaculture and conservationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_134.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น