DSpace Repository

การประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อการกำจัดแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำในถุงน้ำเชื้อกุ้งแช่บ๊วย

Show simple item record

dc.contributor.author สุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.author วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:52Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:52Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/934
dc.description.abstract ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาถึงสารละลายบัฟเฟอร์ที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis) แบบแช่เย็น โดยแบ่งชุดการทดลองเป็นจำนวน 5 ชุด ด้วยการเก็บรักษาถุงเก็บน้ำเชื้อในน้ำยา 5 สูตร ได้แก่ Ca-F-Saline, mineral oil, Ringer solution, Phosphate buffer และ 0.8% NaCL และชุดน้ำเชื้อสด ภายใต้อุณหภูมิ 2-4 C เป็นระยะเวลานาน 28 วัน ผลการศึกษาพบว่า น้ำยาสูตร Mineral oil พบเปอร์เซ็นต์สเปิร์มที่มีชีวิตสูงที่สุด เท่ากับ 89.10+-0.81% ในวันสุดท้ายของการทดลอง ต่อมาทำการศึกษาถึงผลของการเติมยาปฏิชีวนะ Penidllin-streptomycin และ Penicillh-gentamicin ที่ความเข้มข้น 0.1, 1 และ 2% ต่อการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยแบบแช่แข็ง โดยทำการประเมินจากอัตราการรอดชีวิตของสเปิร์มและปริมาณและชนิดของแบคมีเรียจำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ แบคทีเรียทั้งหมด แบคทีเรียแกรมลบ Pseudomnas, Vibrio และ psychrotroph ผลการศึกษาพบว่าน้ำเชื้อที่เก็บรักษาในบัฟเฟอร์ที่มีการเติมยาปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ความเข้มข้น 0.1% มีอัตราการรอดชีวิตของสเปิร์ม มากที่สุด และน้ำเชื้อที่เติมยาปฏิชีวนะ Penicillin-gentamicin ความเข้มข้น 2% มีอัตราการรอดชีวิตของสเปิร์มต่ำที่สุด เมื่อเปรียบเทียบแบคทีเรียทั้งหมดในแต่ละชุดการทดลอง พบว่าในชุดควบคุมตั้งแต่วันที่ 0-30 ของการทดลอง ปริมาณแบคทีเรียทุกชนิดเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ และพบว่าสารปฏิชีวนะ Penicillin-gentamicin และ Penicillin-streptomycin ที่ความเข้มข้น 0.1,1 และ 2% สามารถลดปริมาณแบคทีเรียทุกกลุ่มได้ดีกว่าชุดควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ตลอดระยะเวลาของการทดลอง เมื่อทำการเติมสารปฏิชีวนะ Penicillin-gentamicin และ Penicillin-streptomycin ที่ความเข้มข้น 2% นั้นสามารถลดปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดได้ดีที่สุด แต่การรอดของสเปิร์มมีเหลือน้อยที่สุด ดังนั้นสรุปได้ว่าสารปฏิชีวนะ Penicillin-streptomycin ที่ความเข้มข้น 0.1%น่าจะเหมาะสมในการเก็บรักษาถุงน้ำเชื้อกุ้งแชบ๊วยแบบแช่เย็น ส่วนความหลากหลายของแบคทีเรีย ได้แก่ Bocillus, Stophylococcus, Aeromonas schubertii, Plesiomonas shigelloides, Aeromonos schubertii, Plesiomonas shigelloides, Pseudomonas fluorescens, Xanthomonas fragariae และ Vibrio parohoemolyticus th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2555 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กุ้งแช่บ๊วย th_TH
dc.subject น้ำเชื้อ th_TH
dc.subject สมุนไพรไทย th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การประยุกต์ใช้สมุนไพรไทยเพื่อการกำจัดแบคทีเรียก่อโรคในคนและสัตว์น้ำในถุงน้ำเชื้อกุ้งแช่บ๊วย th_TH
dc.title.alternative Application of thai medicinal plants for removal of human and aquatic animal pathogenic bacteria in Banana prawn (Penaeus merguiensis) spermatophores en
dc.type Research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative In this study, the appropriate extenders for chilled storage of Banana prawn (Penaeus merguiensis) spermatophores were assayed, There were 5 treatments Supplemented with Ca-F-saline, mineral oil, Ringer solution, Phosphate buffer and 0.8% NaCl and the freshly milts treatment Result showed that mineral oil showed The highest percentage of viable sperm (89.10+-0.81%) at the end of experiment, Compared to other treatments. In the second phase of study, the effect of penicillin- Streptomycin and penicillin-gentamicin at 0.1, 1 and 2% chilled storage of Banana Prawn (Penaeus merguiensis) spermatophores was evaluated by sperm viability and Bacterial profiles. Five groups of bacteria (total heterotrophic bacteria, gram negative Bacteria, Pseudomonas, Vibrio and psychrotrophic bacteria) were evaluated. Results Showed that sperm in buffer with 0.1% penicillin-streptomycin showed highest Sperm viability which survived within 30 days of the experiment, Samples with 2% Penicillin-gentamicin demonstrated the lowest sperm viabillty, Among treatments, all Tested bacteria in the control were increased all along the experiment. In contrast, Penicillin-gentamicin and penicillin-streptomycin with 0.1, 1 and 2% treatments were able to significantly decrease all types of tested bacteria better than in the control (P<0.05) all along the experiment. Penicillin-gentamicin and penicillin-streptomycin with 2% treatments showed the highest reducing capacity of all tested bacteria with the least of sperm viability, While penicillin-streptomycin with 0.1% treatment demonstrated the highest sperm viability and presented the capability of bacterial reduction. Therefore, treatment with 0.1% penicillin-streptomycin and mineral oil showed the best protocol for chilled storage of Banana prawn (Penaeus merguiensis) spermatophores. Bacterial diversity of chilled storage of Banana prawn spermatophores were Bacillus, Staphylococcus, Aeromonas schubertii Plesiomonas shigelloides, Aeromonas schubertil, Plesiomonas shigelloides, Pseudomonas fluorescens, Xonthomonas fragariae and Vibrio parahaemolyticus en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account