DSpace Repository

ศักยภาพและทิศทางการพัฒนาสังคมสูงอายุในเขตเมืองภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.creator ธนิต โตอดิเทพย์
dc.date.accessioned 2023-07-10T07:04:55Z
dc.date.available 2023-07-10T07:04:55Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9273
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.description.abstract การศึกษาเรื่อง “ศักยภาพและทิศทางการพัฒนาสังคมสูงอายุในเขตเมืองภาคตะวันออก” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างทางสังคมของผู้สูงอายุ ศักยภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้สูงอายุ และแนวโน้มของการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของผู้สูงอายุในพื้นที่เมือง จังหวัดชลบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า การจัดการเชิงโครงสร้างทางสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย ให้ความสำคัญกับการดำเนินทางนโยบายที่มาจากหน่วยงานภาครัฐ กระทรวงที่มีบทบาทหลักในการพัฒนาสังคมผู้สูงอายุ ได้แก่ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงสาธารณสุข ปฏิบัติงานผ่านยุทธศาสตร์ที่ถูกกำหนดขึ้น สู่การสร้างกลไกเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุในท้องถิ่น ได้แก่ ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัคร กองทุนสวัสดิการ โครงการพัฒนาผู้สูงอายุ เช่น การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ขณะที่ความพร้อมของหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นไม่เท่ากันส่งผลให้แต่ละพื้นมีระดับความพร้อมที่ ค่อนข้างแตกต่างกันไป แนวโน้มของการจัดการเพื่อเตรียมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุยังต้องประสบปัญหา อีกหลากหลาย ได้แก่ ความไม่ชัดเจนของการนิยามเพื่อจำแนกผู้สูงอายุ ซ้ำซ้อนเชิงนโยบาย, เบี้ย ผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิต, การพิจารณาถึงงบประมาณที่จะใช้ใน การจัดการสังคมสูงอายุที่ยาวขึ้น, การประสานงานเชิงนโยบายระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดกับ หน่วยงานท้องถิ่น th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject การวางแผนผู้สูงอายุ th_TH
dc.title ศักยภาพและทิศทางการพัฒนาสังคมสูงอายุในเขตเมืองภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative Potentials and development an aging society in Urban Eastern Area th_TH
dc.type Research th_TH
dc.author.email tanit_ryu@hotmail.com
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative This research entitled “Potentials and Development an Aging Society in Urban Eastern Area.” Aims to study the social structure, the potential of economic and society through the guideline of economic and social development of aging society in Chonburi province. The method of this study was a qualitative The study revealed that the social structure management in Thailand focus on the policy implementation from government sectors. The ministries have a role in aging development is Ministry of Social Development and Human Security and Ministry of Public Health implemented under strategy or policy of ministries that was making the functions for local older development such as the elderly club, volunteer, welfare funds, long term care programs and etc. The availability of local government organizations is unequal resulting in different levels whiles the management to prepare to the elderly society has to problems include definition for identifying the elderly unclear, low subsistence allowance, the finance to manage long-term elderly and Policy coordination between provincial administration and local authorities. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account