DSpace Repository

การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและประโยชน์ของการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ : กรณีโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

Show simple item record

dc.contributor.author สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/69
dc.description.abstract Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางตรงและทางอ้อมในการให้บริหารดูแลผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและประโยชน์ที่เกิดขึ้น ทั้งค่าใช้จ่ายในการให้บริการรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่นๆ การวิจัยนี้สำรวจผู้ที่มีอายุระหว่าง 60-74 ปีที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและรับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกและที่บ้าน โรงพยาบาลของรัฐในภาคตะวันออกจำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และศึกษาบุคลากรจำนวน 157 คน โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณาและทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัย ค่าใช้จ่ายทางตรงในการให้บริการมีค่าเฉลี่ยต่อปีเท่ากับ 7,040.45 บาท (S.= 858.34 บาท) เมื่อประมาณการค่าใช้จ่ายในปี พ.ศ. 2543 จะเท่ากับ 8,121.64 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.2 ของงบประมาณสาธารณสุขทั้งหมด ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของผู้ให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง ความพึงพอใจของผู้รับบริการอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเท่ากับ 84.28% (S.=27.77%) ของภาวะสุขภาพที่พึงปรารถนาอภิปรายผล : ค่าประมาณการการใช้จ่ายทั้งประเทศจะเป็นวงเงินที่สูงมาก ทั้งนี้ยังไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่ผู้สูงอายุอาจไปรับบริการที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลเอกชน และอื่นๆ ข้อเสนอแนะ : เนื่องจากค่าใช้จ่ายเป็นงบประมาณจำนวนมาก ดังนั้นการดำเนินงานสาธารณสุขควรให้ความสำคัญกับโครงการป้องกันโรค และ การส่งเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มอายุ เพื่อหลีกเลี่ยงโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ Abstract: The research surveyed the elderly patients (60-74 years old) with chronic non communicable diseases in the eastern region of Thailand. Samples were out patients and home health care patients of sample government hospitals. The 400 samples, using multistage random sampling, were interviewed and 157 health providers were asked using self administered questionnaire. The data was analyzed by descriptive statistics and compare the difference of means by t-test and one way analysis of variance was significant at The average direct expenditure for medical cost was 7,040.45 bahts per year for each elderly patient (S.=858.34 bahts) The estimate medical cost in the year 2000 was 8,121.64 million bahts or 5.2% of the total health budget. The work satisfaction of the health providers were at middle level. The clients satisfaction were in high level. And the quality of life was 84.28% (S.=27.77%)The estimate expenditure in health care was very high. Although, exclude the elderly who may be go to the village health centers, private hospitals and others.Because of the high expenditure of care service so the promotion and prevention programs were necessary for every groups of people to protect the chronic diseases in elderly life. th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนทุนการวิจัยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject elderly th_TH
dc.subject quality of life th_TH
dc.subject ผู้สงอายุ - - การดูแล th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - ค่าใช้จ่าย th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - สุขภาพและอนามัย th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ - - โรค th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและประโยชน์ของการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ : กรณีโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง th_TH
dc.title.alternative The analysis of expenditure and utility of the elderly health care service : chronic non-communicable disease th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2542


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account