DSpace Repository

ผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว

Show simple item record

dc.contributor.author นิภาวรรณ สามารถกิจ
dc.contributor.author สุภาภรณ์ ด้วงแพง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:52:01Z
dc.date.available 2019-03-25T08:52:01Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/606
dc.description.abstract การบาดเจ็บที่สมอง นำมาซึ่งปัญหาสุขภาพและส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยระยะยาวที่ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อครอบครัวของผู้ป่วยด้วย การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว โดยทำการศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่สมองและครอบครัว ที่มารับบริการตรวจรักษาพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยนอกและหอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุ โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลระยอง โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา และโรงพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี จำนวน 140 คู่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างเกี่ยวกับผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อผู้ป่วย และแบบวัดผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่และร้อยละของข้อมูลทั่วไป หาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว โดยการทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่สมองที่มีความแตกต่างกันในเรื่อง เพศ อายุ ระดับ การศึกษา รายได้ครอบครัวต่อเดือน และระยะเวลาของการเจ็บป่วยจากอุบัติเหตุของผู้ป่วย มีค่าเฉลี่ยคะแนน ผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p>.05) ในขณะที่ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่สมองที่มีระดับความพิการแตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยคะแนนผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) และเมื่อทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ (Sheffe’s test) พบว่า ผู้ป่วยที่มีระดับตวามพิการปานกลางมีค่าเฉลี่ยคะแนนผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองแตกต่างจาก ผู้ป่วยที่ไม่มีความพิการ และผู้ป่วยที่มีระดับความพิการน้อยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05, และ .01) ตามลำดับ ผู้ป่วยที่มีระดับความพิการมาก และผู้ป่วยที่มีความพิการไม่รู้สติ th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2540 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คนพิการ - - ความสัมพันธ์ในครอบครัว th_TH
dc.subject ผู้ป่วย - - สุขภาพจิต th_TH
dc.subject สมอง - - บาดแผลและบาดเจ็บ th_TH
dc.subject สมอง - - ศัลยกรรม - - ผู้ป่วย th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title ผลกระทบของการบาดเจ็บที่สมองที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว th_TH
dc.title.alternative The impact of traumatic brain injury on patients and families en
dc.type Research th_TH
dc.year 2544
dc.description.abstractalternative Consequence of traumatic brain injury (TBI) is a chronic health problem that has long-term impacts on both patients themselves and their families. The purposes of this study were to explore the impacts of TBI on patients and families. The sample consisted of 120 pairs of TBI patients and the significant person in their families who followed up at the neurological out patient clinic and readmission at traumatic wards in Chonburi hospital. Rayong hospital Phrapokklao hospital and Chacheongsao hospital, The measurements used in this study included a structured interview questionnair about impacts of TBI on patients and a self-administrative questionnaire about impacts of TBI on family. Descriptive statistics, t-test, and ANOVA were conducted for data analysis. The result revealed that TBI patients with differences in sex, age, educational level, family income, and duration of illness after accidents were not significantly different in the TBI impact scores. TBI patients with differences in levels of disability had sigificant difference in TBI impact scores (p<.001) With Scheffe's test, TBI patients with moderate level of disability had statistically siginificant difference of TBI impact scores from TBI patients with non-disability and low level of disability (p<.05 and p<.01), respectively TBI patients with high level of disability and vegetative level had statistically significant difference of TBI impact scores from TBI patients with moderate and low level of disability as well as non-disability (p<.001). For TBI impacts on family, the result showed that TBI families with differences in sex, age, education level, family income, and duration of illness after accidents were not significantly different in the average of TBI impact scores on family. TBI patients with different level of disability and different level of daily activity assistance had significant difference in TBI impacts on family (p<.05 and p<.001) respectively with Scheffe's test, TBI impact scores on family of TBI patients with vegetative level significantil differed from TBI patiens with non-disability (p<.01). In addition, there were statistically significant differences of TBI impact scores on family between TBI patients with high level of daily activity assistance and TBI patients with low level of daily activity assistance and those with no assistance (p<.01 and p<.001),respectively en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account