DSpace Repository

การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบการใหัการศึกษาแก่บิดามารดาในการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนในจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author วิณี ชิดเชิดวงศ์
dc.contributor.author สมประสงค์ ประสงค์เงิน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:51:52Z
dc.date.available 2019-03-25T08:51:52Z
dc.date.issued 2530
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/486
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาเปรียบเทียบความต้องการทางการศึกษาของบิดามารดาในการให้การอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน ที่มาจากสถานภาพครอบครัวที่แตกต่างกันในด้านอาชีพ สถานภาพสมรส สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา ขนาดของครอบครัว รูปแบบการอบรมเลี้ยงดู ศึกษาวิเคราะห์ องศ์ประกอบการให้การศึกษาแก่บิดามารดา ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการทางการศึกษาในการให้การอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนของบิดามารดาที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทจังหวัดชลบุรีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บิดามารดาของเด็กก่อนวัยเรียน (อายุ0-5 ปี) จำนวน 126 ครอบครัว ในเขตชนบท จังหวัดชนบุรี โดยใช้วิธีสุ่มแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมด้านสุขสัยและสุขภาพจิตไม่แตกต่างกัน ข้อมูลคือแบบสอบถามสถานภาพส่วนตัว แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน แบบสอบถามสังเกตพฤติกรรมและสัมภาษณ์เกี่ยวกับความรู้และการปฏิบัติงานของบิดามารดา ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าร้อยละ t-test F-test และ Factor Analysis การวิจัยปรากฏผลดังนี้ 1. บิดามารดาของเด้กก่อนวัยเรียนที่มีสถานภาพครอบครัวแตกต่างกัน ในด้านอาชีพ สถานภาพสมรส สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา ขนาดครอบครัว และรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู มีความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนในด้านโภชนาการไม่แตกต่างกัน 2. บิดามารดาของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีสถานภาพครอบครัวแตกต่างกัน ในด้านอาชีพ สถานภาพสมรส สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา ขนาดครอบครัว และรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู มีความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน ด้านสุขนิสัยและสุขภาพจิตไม่แตกต่างกัน 3. บิดามารดาของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีสถานภาพครอบครัวแตกต่างกัน ในด้านอาชีพ สถานภาพสมรส สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา ขนาดครอบครัว และรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู มีความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนด้านพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนของบิดามารดา ด้านสุขนิสัยและสุขภาพจิต มีความสัมพันธ์กับด้านโภชนาการ และด้านพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง ด้านโภชนาการกับด้านพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา 5. บิดามารดาของเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหย่มีความรู้และความต้องการรับบริการจากหน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน ดังต่อไปนี้ 5.1 หน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูก่อนวัยเรียน ที่บิดามารดาส่วนใหย่คุ้นเคยหรือรู้จักมากที่สุด คือ โครงการศูนย์พัฒนาเด็ก และโครงการส่งเสริมโภชนาการเด้ก 5.2 บิดามารดาของเด้กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่เคยได้รับบริจากหน่วยงาน โครงการศูนย์พัฒนาเด็ก และโครงการส่งเสริมอนามัยเด้ก 5.3 หน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนที่บิดามารดาส่วนใหญ่ต้องการให้เป็นแหล่งเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด้กก่อนวัยเรียนคือโครงการศูนย์พัฒนาเด็ก โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กและโครงการแม่และเด็กชนบท th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปี 2528 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เด็กวัยก่อนเข้าเรียน th_TH
dc.subject เด็ก - - การดูแล th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบการใหัการศึกษาแก่บิดามารดาในการอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนในจังหวัดชลบุรี th_TH
dc.type Research
dc.year 2530
dc.description.abstractalternative A Factor Analysis of How to Educate Parente for Pre-School Child's Reactices in Chonburi Province. The purposes of this study were to compare the edicational needs of the parents in rearing the pre-School chid coming from differnt family conditions which are : career condition, marriage condition economy condition, working condition, Level of edication, the size of the family, and the style of rearing and rearing up the chind. This study analyzed the factors to give parents the advice and edication. The study also invesstigated the situation of the problems and the need for the edication necessary for the the parents living in the rural area in Chonburi so that they know how to bring up their child properly. the sample used in this study were the parents of the pre school children of 0-5 years of age. These parents are those of 126 families Living in the rural areas Chonburi Province. the mathod used was the specific sampling device. the instrumant used for data collection was the personal condition questionnaires, they were the questionnaires which dealt with the style and and form of rearing pre-school child. The questionnaires observed the parents' behavior,and they were interviewed about their knowledge and their practice used in rearing the pre-school child. the statistics used for data analysis were the percentage rating fcale, T-test and F-test, and factor analysis. 1. Pre-school child' parents whose family condition concerntion career, mrriage, economy, level of education, working, the size of the famiry, and the form and style of rearing were different, but whose knowledge and the practice concerning the rearing and the nutrition of the pre-school child were not different. 2. Pre-school child' parents whose family condition concerntion career, mrriage, economy, level of education, working, the size of the famiry, and the form and style of rearing were different, but their knowledge and the practice concerning the rearing of the pre-school child concerning their healthy healthy habits and their mental health were not different. 3. Pre-school child' parents whose family condition concerntion career, mrriage, economy, and the size of the family were different, had knowledg ang their practice in rearing the pre-school child concerning bodily, emotional,school child's parents whose working condition, level of education and the form and style of rearing the pre- school child were different, had knowledge ang their practice concerning the rearing the pre- school child concerning dobily, emotional,social and intellectual development were statistically differrent at the .05 level of significance. 4. the parents' knowledge ang the practice concerning the rearing of the pre-school child concerning concerning with the healthy habit and the mantal health were significantly and statistically related to the level of significance, but the relationships among the nutrition and the bodily, emotional, social ang intellectula were not yet found. 5. Most of the pre-school child's parents hed knowledge and information service of how to rear the pre-school child. The social service offices where the parents want to go to ask for such the information are of these kinds. they are 5.1 The social service office which serve them to know better about how to rear the pre-school child, and these kinse kinds of office are known well familiar with most parents : they are "the Development centre for the Little child" and "The Nutritional Promotion Project for the Little children." 5.2 Most of the pre-school child's parentshave received social welfare from the special offices and certain kinds of projects such as "The Development centre for the youg children" and ""The Nutritional Promotion Project for the Little children." 5.3 The kind of special offices needed by the parents of the pre-school child is the kind of offices which are the sources where they can supplement their knowledge about how to rear the pre-school child. such kinds of projects are : "the central Prject for the Development of the Little children", "the Good Health promotion Project for Little children", and "the Project for Little children and Mother in the Rural Area." en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account