DSpace Repository

รูปแบบการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศหมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

Show simple item record

dc.contributor.author จิรัฎฐ์ โชคอริยพิทักษ์
dc.contributor.author สุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.author ธเนศ มณีกุล
dc.date.accessioned 2022-08-13T09:18:36Z
dc.date.available 2022-08-13T09:18:36Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.issn 1685-2354
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4679
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ได้มาจากการให้นักท่องเที่ยว ที่เข้าไปเที่ยวในสถานที่ดังกล่าว จำนวน 300 คน ตอบแบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง เกี่ยวกับการรับรู้และความต้องการ ในการมาเที่ยวจังหวัดพังงา ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้านดังนี้ 1) ด้านพื้นที่ 2) ด้านการจัดการ 3) ด้านกิจกรรม และกระบวนการ และ 4) ด้านการมีส่วนร่วมทั้งชุมชนและนักท่องเที่ยว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และใช้การทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบจำแนกทางเดียวโดยใช้ค่า สถิติ One-way ANOVA, F-test และในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะท าการตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ระดับความเชื่อมั่น 95 % และสมการพยากรณ์โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัย สามารถสรุปรูปแบบการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: หมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ได้ 2 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบการประชาสัมพันธ์ พบว่า สื่อที่ส่งผลต่อการรับรู้และความต้องการเป็นอันดับ 1 ได้แก่ “ทวิตเตอร์” โดยเกี่ยว ข้องกับปัจจัย ด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม อันดับที่ 2 “โดยการบอกต่อเพื่อน” ซึ่งเกี่ยวข้องกับปัจจัย ด้านพื้นที่ ด้านกิจกรรมและด้านการมีส่วนร่วม อันดับที่ 3 “สื่อการท่องเที่ยวของรัฐ” โดยเกี่ยว กับปัจจัยด้านพื้นที่ ด้านกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม และอันดับที่4 “อินสตาร์แกรม” ซึ่งเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม 2) รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พบว่า มีความต้องการเข้าร่วมเป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ “เกาะพระทอง” ในปัจจัยด้านพื้นที่อันดับที่ 2 “กิจกรรมการกางเต็นท์” ในปัจจัยด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ และด้านการมีส่วนร่วม อันดับที่ 3 “ทะเลแหวกหนวดมังกร” ในปัจจัยด้านพื้นที่ อันดับ 4 “การอนุรักษ์พันธุ์ไม้การส่องสัตว์” ในปัจจัยด้านพื้นที่และด้านการจัดการ และอันดับที่ 5 “ทัศนะศึกษา” ในปัจจัยด้านกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วม นอกจากนี้ยังพบว่า องค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน คือ 1) ด้านพื้นที่ 2) ด้านการจัดการ 3) ด้านกิจกรรมและกระบวนการและ 4) ด้านการมีส่วนร่วม ทั้งชุมชนและนักท่องเที่ยว สนับสนุนให้รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีความมั่นคงและยั่งยืน หรือเกิดโซ่แห่งคุณค่า th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- พังงา th_TH
dc.subject อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- พังงา th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- การประชาสัมพันธ์ th_TH
dc.title รูปแบบการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศหมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา th_TH
dc.title.alternative Ecotourism access pattern: Thung Ruk village Kuraburi district, Phang Nga province th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 14 th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the ecotourism access pattern at Ban Thung Rak, Khuraburi district, Phang nga province. The data were collected from 300 tourists who visited the place. The participants were asked to do the questionnaires which created by the researcher in four components, factors about the area, management, activities and process, and participation both community and tourists. The statistics used to analyze the data were frequency, mean, standard deviation and one-way ANOVA as well as F-test for testing the hypothesis. In addition, if there were found some statistically significant differences, they had been tested the difference of each pair at significant level 0.05 and reliability at 95 %. Multiple linear regressions was used for a predictive analysis. The research results were concluded into two ecotourism access patterns of the place. Firstly, the public relation pattern was found that the media which mostly affected the participants’ perception and requirement were ‘twitter’, ‘mouth-to-mouth communication’, ‘state tourism media’ and ‘Instagram’ respectively. Secondly, the ecotourism pattern was found that the participants mostly wanted to visit and attend were ‘Ko Phra Tong’ (the name of an island), ‘camping’, ‘Tha-lae Waek Nuat Mangkorn’ (The name called a place which separated sea), ‘the forest conservation and watching wild animals’ and ‘study tour’ respectively. The results were also found that the four components (Factors about the area, management, activities and process, and participation both community and tourists) supported the ecotourism pattern stable and sustainable (Value chain). th_TH
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review th_TH
dc.page 66-79. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account