DSpace Repository

ปัจจัยของธาตุอาหารต่อมวลชีวภาพและประชาคมของอิพิไฟต์ในแนวหญ้าทะเล อ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author จริยาวดี สุริยพันธุ์
dc.contributor.author จิตรา ตีระเมธี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2022-06-21T04:16:49Z
dc.date.available 2022-06-21T04:16:49Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4464
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากส่วนงาน (คณะวิทยาศาสตร์) ประจำปี พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract มวลชีวภาพและประชาคมของอิพิไฟต์บนใบหญ้าทะเลชนิด Halodule uninervis อ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ในเดือนกันยายน 2562 ถึง เดือนกรกฎาคม 2563 กำหนดแนวเก็บตัวอย่างทั้งหมด 3 แนว ครอบคลุมพื้นที่แนวหญ้าทะเลบริเวณระดับน้ำขึ้นสูงสุด น้ำขึ้นน้ำลง และน้ำลงต่ำสุด ครอบคลุมพื้นที่หน้าโรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ แต่ละสถานีเก็บตัวอย่างหญ้าทะเลเป็นพื้นที่ 25x25 เซนติเมตร พบอิพิไฟต์กลุ่มพืชใน 3 ดิวิชั่น 6 ชั้น 16 อันดับ 21 วงศ์ 28 สกุล และ 3 กลุ่ม ได้แก่ ดิวิชั่น Cyanophyta ดิวิชั่น Chlorophyta และดิวิชั่น Chromophyta อิพิไฟต์กลุ่มสัตว์พบ 3 ไฟลัม 1 สกุล และ 7 กลุ่ม อิพิไฟต์กลุ่มพืชที่พบเป็นกลุ่มเด่น คือ Cocconeis, Pleurosigma, Nitzschia และ pennate diatom ในดิวิชั่น Chromophyta อิพิไฟต์กลุ่มสัตว์ที่พบกลุ่มเด่น คือ Tintinnopsis และ unidentified protozoa 1 ในไฟลัม Protozoa มวลชีวภาพของอิพิไฟต์เฉลี่ยตลอดการศึกษา มีค่า 3.65±0.16 ถึง 6.96±0.48 น้ำหนักแห้งต่อน้ำหนักแห้งใบหญ้าทะเล สูงสุดในเดือนมีนาคม 2563 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยของธาตุอาหารที่มีผลต่อมวลชีวภาพของอิพิไฟต์ พบว่าปริมาณฟอสฟอรัสในน้ำส่งผลต่อมวลชีวภาพของอิพิไฟต์ในบริเวณน้ำขึ้นน้ำลง และมวลชีวภาพของอิพิไฟต์ยังส่งผลให้มวลชีวภาพของหญ้าทะเลลดลง th_TH
dc.description.sponsorship คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject หญ้าทะเล - - ไทย - - สัตหีบ th_TH
dc.subject ซัลไฟต์ th_TH
dc.subject ธาตุอาหารพืช th_TH
dc.title ปัจจัยของธาตุอาหารต่อมวลชีวภาพและประชาคมของอิพิไฟต์ในแนวหญ้าทะเล อ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Factor effecting of nutrient on biomass and epiphytic community in seagrass bed, Sattahip bay, Chon Buri Province en
dc.type Research th_TH
dc.author.email jariyavadee@buu.ac.th th_TH
dc.author.email jittra@go.buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Study of biomass and epiphytic community on Halodule uninervis blade, Sattahip bay, Chon Buri Province was investigated during September 2019 to July 2020. A total of a stations along 3 transect lines were set at upper intertidal area, intertidal area and subtidal area in from Arpakorn Kiattiwong Hospital. At each station, collected the seagrass biomass by using 25 x 25 cm2 quadrat. The results showed 3 division of phytoplankton and 3 phylum of zooplankton. The dominant group was Cocconeis, Pleurosigma, Nitzschia and pennate diatom in Division Chromophyta. The average of epiphyte biomass was between 3.65±0.16 - 6.96±0.48 g DW/g DW seagrass leave and showed highest in March, 2020. Epiphyte biomass was indicated by nutrient in water column. The phosphorus effect epiphyte load. Especially on upper intertidal area. Otherwise, the change in epiphyte were relate the decrease in seagrass biomass. en
dc.keyword สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account