DSpace Repository

การพัฒนาเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวของนักเรียนระดับประถมศึกษาด้วยโปรแกรมไอเพกส์

Show simple item record

dc.contributor.author ประเสริฐ ทองทิพย์
dc.contributor.author ปรัชญา แก้วแก่น
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned 2021-06-28T02:45:07Z
dc.date.available 2021-06-28T02:45:07Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4262
dc.description.abstract การพัฒนาเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในอนาคตเพราะการดำรงชีวิตมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอันเกิดจากการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างโปรแกรมไอเพกส์ (IPEGs Program: Innovation Program for Exercise Games) เพื่อพัฒนาเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลจุมพลโพนพิสัยการพัฒนากิจกรรมโปรแกรมไอเพกส์ ประกอบด้วย การศึกษาการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสังเคราะห์เอกสาร การสร้างรูปแบบกิจกรรมโปรแกรมไอเพกส์มี 3 กิจกรรม คือ (1) การฝึกสมรรถภาพทางจิต (2) การฝึกสมรรถภาพทางกาย และ (3) การผ่อนคลาย และนำไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 80 คน 4 กลุ่มทดลอง โดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนตอบถูกจากแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว Flanker Task ก่อนและหลังการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t-test และ two-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ย คะแนนความถูกต้องจากแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา จำแนกตามเพศและจำแนกตามระดับไอคิว ระหว่างก่อนกับหลังการใช้โปรแกรมไอเพกส์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเพศชายระดับไอคิวสูงกว่าเพศหญิงนอกจากนี้ ระดับไอคิวสูงและต่ำมีปฏิสัมพันธ์ต่อเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว แต่เพศชายและเพศหญิงไม่มีปฏิสัมพันธ์ต่อเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวรวมทั้ง เพศกับระดับไอคิวไม่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันกับเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวของนักเรียนระดับประถมศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject โปรแกรมไอเพกส์ th_TH
dc.subject เชาวน์ th_TH
dc.subject แบบทดสอบสติปัญญา th_TH
dc.subject การเคลื่อนไหวของมนุษย์ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การพัฒนาเชาวน์ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหวของนักเรียนระดับประถมศึกษาด้วยโปรแกรมไอเพกส์ th_TH
dc.title.alternative Enhancing bodily-kinesthetic intelligence among primary school students by IPEGs Program en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 17 th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The development of bodily-kinesthetic Intelligence is important to human life in the future because living in the future is at risk of chronic non-communicable diseases caused by sedentary behavior.The purposes of this study were to create IPEGs Programfor enhanceBodily-Kinesthetic Intelligence in Anubanjumphol Phonpisaiprimary school students. The process to development IPEGs program consisted of a review of literature, the design of the learning activity. There are three activities in IPEGs program (1) mental fitness training (2) physical fitness training and (3) relaxation. This program had been use for grade 5, 80 students, 4 experimental groups by comparing the mean scores of the correct answers from the Flanker Task intelligence test before and after the experiment. Data analysis using t-test and two-way ANOVA. The result show that mean score of accuracy from bodily-Kinesthetic Intelligence through computer of primary school students classified by gender and IQ level between before and after using the IPEGs program, there was a statistically significant difference at .01 level.In which males have higher IQ levels than females. In addition, high and low IQ levels interact with intelligence and physical movements. However, males and females do not interact with physical intelligence and movement, including sex and IQ levels do not interact with physical intelligence and movement of elementary school students. Statistical significance at the level of .01 en
dc.journal วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา th_TH
dc.page 55-68. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account