DSpace Repository

การลดปัจจัยเสี่ยงและฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

Show simple item record

dc.contributor.author อาภรณ์ ดีนาน th
dc.contributor.author พัทธ์ชนก วิถีธรรมศักดิ์ th
dc.contributor.author วชิราภรณ์ สุมนวงศ์ th
dc.contributor.author สมสมัย รัตนกรีฑากุล th
dc.contributor.author ชัชวาล วัตนะกุล th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-04-07T02:41:41Z
dc.date.available 2021-04-07T02:41:41Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4019
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประามณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 th_TH
dc.description.abstract การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับผู้ปุวยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เนื่องจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ สามารถปูองกันโรคแทรกซ้อนรวมและเพิ่มคุณภาพชีวิต การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (Randomized Controlled Trial [RCT]) มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของโปรแกรมลดความเสี่ยงและฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก จำนวน 196 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 80 รวม และกลุ่มควบคุม 116 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่คณะวิจัยพัฒนามาจากผลการวิจัยและหลักฐานเชิงประจักษ์ ระยะเวลา 4 สัปดาห์ ๆ ละ 2 ครั้ง โดยมีเนื้อหาเปประกอบดด้วยการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเยี่ยมบ้าน การติดตามทางโทรศัพท์และพัฒนาทักษะในการออกกาลังกายด้วยการเดิน โดยมีพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเป็นโค้ชและใช้อุกรณ์นับก้าว (Garmin, Viofit) ประเมินผลก่อน หลังและระยะติดตาม 3 เดือน โดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ แบบวัดการรับรู้ปัญหาสุขภาพ สมรรถนะการทาหน้าที่ แบบวัดความซึมเศร้า แบบประเมินคุณภาพชีวิตและการตรวจไขมันในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณา การวิเคราะห์ค่าทีและการวิเคราะห์ค่าความแปรปรรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีผลลัพธ์ทางด้านสุขภาพดีขึ้นและแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสาคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ พฤติกรรมการออกกาลังกาย พฤติกรรมการจัดการความเครียด การ รับรู้ปัญหาการเจ็บป่วย สมรรถนะการทำหน้าที่ ความซึมเศร้า คุณภาพชีวิต และ ระดับไขมัน HDL แต่ไม่พบความแตกต่างในพฤติกรรมการรับประทานอาหารระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม นอกจากนี้ยังพบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตของระยะเวลาก่อน หลัง และระยะติดตาม (p<.05) ของพฤติกรรมการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการออกกาลังกาย พฤติกรรมการจัดการความเครียด การรับรู้ปัญหาการเจ็บป่วย สมรรนะการทำหน้าที่ ความซึมเศร้าและคุณภาพชีวิต ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมลดความเสี่ยงและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่สร้างขึ้นนี้ ให้ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดี จึงควรนำโปรแกรมที่สร้างขึ้นนี้ไปใช้กับผู้ป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่มารับบริการที่โรงพยาบาลอื่น ๆ รวมทั้งนำทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้นและเป็นระยะเวลายาวนานขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด th_TH
dc.subject กล้ามเนื้อหัวใจ -- โรค -- ผู้ป่วย th_TH
dc.subject คุณภาพชีวิต th_TH
dc.title การลดปัจจัยเสี่ยงและฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด th_TH
dc.title.alternative Risk reduction and cardiac rehabilitation of myocardial infarction persons en
dc.type Research th_TH
dc.author.email apornd@buu.ac.th th_TH
dc.author.email p.patchanok@hotmail.com th_TH
dc.author.email wachirsu@gmail.com th_TH
dc.author.email somsa1@hotmail.com th_TH
dc.author.email ycwattana@yahoo.com th_TH
dc.year 2559 th_TH
dc.description.abstractalternative Cardiac rehabilitation (CR) can promote heart function, prevent complication, and improve quality of life of post myocardial infarction persons. The objective of this randomized control trial (RCT]) study was to evaluate the cardiac rehabilitation program for post myocardial infarction patients. A sample was post myocardial infarction persons who follow up at out patien department. One hundred and nighty sex were randomly assigned into the experiment (n = 80) and the control (116) groups. The experiment group participated in the 4-week CR program comprising of health education, behavior modification, home visit, telephone call, coaching by advanced practice nurse in cardiology as well as back up with step count (Garmin viofit). The outcomes were nmeasured at based line, 4 weeks, amd 12 weeks by a apackage of questionnaires and lipid profile test. Data were analyzed using descriptive statistics, t- test, and Repeated Measures ANOVA. The results showed that there was significant difference (p<.05) between group of exercise behavior, stress management, perceived of illness, functional performance, depression, and quality of life, except eating behavior. Furthermore, there were significant difference (p<.05) of eating behavior, exercise behavior, stress management, perceived of illness, functional performance, depression, and quality of life. Additinally, t-test analysis found that there was difference between group of HDL (p<.05) From research results, this CR program produced better health outcomes; therefore, it should be implementing in other health care settings. Future research should test in multi settings with lager sample size and longitudinal studies. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account