DSpace Repository

การศึกษาผลกระทบของปัจจัยทางอุทกพลศาสตร์ต่อการลดทอนคลื่นในป่าชายเลน

Show simple item record

dc.contributor.author ธรรมนูญ รัศมีมาสเมือง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-03T02:28:27Z
dc.date.available 2020-04-03T02:28:27Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3839
dc.description.abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลและความสัมพันธ์ของปัจจัยทางอุทกพลศาสตร์ และสภาพป่าชายเลนต่อการลดทอนคลื่นในป่าชายเลน และพัฒนาสมการการลดทอนคลื่นในป่า ชายเลนที่คำนึงถึงปัจจัยนั้น การศึกษาได้นาข้อมูลการสำรวจภาคสนาม ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลตรวจวัดทางอุทกพลศาสตร์ ได้แก่ คลื่นและระดับน้า และข้อมูลสภาพป่าชายเลน ได้แก่ ความยาวของแนวป่า ชายเลน ความลาดชันของพื้นที่ ความหนาแน่นของต้นไม้ ขนาดของต้นไม้ ในบริเวณพื้นที่ศึกษาในป่า ชายเลน มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์และความถดถอยเชิงเส้นตรงหลายตัวแปรตัวแปรไร้มิติมทางอุทกพลศาสตร์และสภาพป่าชายเลน ได้แก่ ความสูงคลื่นต่อความยาวคลื่น หรือความชันคลื่น (H L) ความยาวป่าชายเลนต่อความยาวคลื่น ( m L L) และพื้นที่ลำต้นของต้นไม้ต่อพื้นที่ทั้งหมด ( m A A) ถูกนำมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับสัมประสิทธิการลดทอนคลื่น ( R (%)) จากผลการวิเคราะห์พบว่า ความสูงคลื่นต่อความยาวคลื่นหรือความชันคลื่น (H L) ความยาวป่าชาย เลนต่อความยาวคลื่น ( m L L) มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับสัมประสิทธิการลดทอนคลื่น ดังนั้น ตัวแปรไร้มิติทั้งสองถูกนำมาวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรงหลายตัวแปร และสร้างสมการการ ประมาณค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนคลื่นในป่าชายเลนที่พิจารณาลักษณะทางอุทกพลศาสตร์และสภาพป่าชายเลน สมการที่นำเสนอสามารถช่วยให้ในการประมาณสัมประสิทธิ์การลดทอนคลื่นในสถานการณ์ ต่าง ๆ ซึ่งขึ้นกับสภาพภูมิอากาศของคลื่นได้ และในกรณีของสภาพป่าชายเลนที่แตกต่างกันได้ th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject อุทกพลศาสตร์ th_TH
dc.subject ป่าชายเลน th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ th_TH
dc.title การศึกษาผลกระทบของปัจจัยทางอุทกพลศาสตร์ต่อการลดทอนคลื่นในป่าชายเลน th_TH
dc.title.alternative A study of the effect of hydrodynamic factors on the wave reduction in mangroves en
dc.type Research th_TH
dc.author.email thamnoon@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The objectives of this study are to study the influences and relations between hydrodynamics and mangroves factors on the wave reduction in mangrove forests; as well as to develop an equation of the wave reduction in mangroves forests considering those relative factors. Field data of monitoring the hydrodynamic factors – wave conditions and water level and of surveying mangroves physical characteristics were analyzed with correlation and multiple linear regression analyses Dimensionless parameters of hydrodynamics and mangroves; the ratio of wave height to wave length or the wave steepness, the ratio of the mangroves length to the wave length and the trunk area of mangrove trees to the total study area are analyzed with correlation analysis with the wave reduction and found that the relations between the ratio of wave height to wave length or the wave steepness and the ratio of the mangroves length to the wave length are significant. The predictive equation of wave reduction considering these factors are developed with the multiple linear regression analysis. The purposed equation are applied to estimate the wave reduction in mangroves forests in different conditions of wave climate and mangrove forests. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account