DSpace Repository

ประสิทธิภาพของแอคติโนมัยซีททะเลในการผลิตเอนไซม์เพื่อบำบัดเสีย

Show simple item record

dc.contributor.author ณิษา สิรนนท์ธนา
dc.contributor.author จันทร์จรัส วัฒนะโชติ
dc.contributor.author มะลิวัลย์ คุตะโค
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned 2020-01-06T07:40:40Z
dc.date.available 2020-01-06T07:40:40Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3729
dc.description.abstract จากการทดสอบค่ากิจกรรมเอมไซม์ ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสับสเตรทของเชื้อแอคติโนมัยซีท 30 ไอ โซเลต ที่เลี้ยงในอาหารเหลว ISP2 ความเค็ม 17 ppt. ค่าความเป็นกรดด่าง 6.2 อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 4 วัน พบเชื้อแอคติโนมัยซีท NS56-4-6, CP58-4-20 และ CP58-9-16 แสดงค่า การทำงานเอนไซม์อะไมเลสดีที่สุด เชื้อแอคติโนมัยซีท CP58-9-20, NS56-4-6 และ PL1-4 แสดง ค่าการทำงานเอนไซม์เซลลูเลสดีที่สุด และเชื้อแอคติโนมัยซีท CP15-9-2, CP58-9-18 และ CP15-6-9 แสดงค่าการทำงานเอนไซม์โปรติเอสดีที่สุด เชื้อแอคติโนมัยซีท NS56-4-6, CP58-4-20, CP58-9-16, CP58-9-20 และ PL1-4 มีศักยภาพในการพัฒนาไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานแป้งมัน หรือโรงงานที่มีวัสดุเหลือทิ้งเป็นแป้งหรือเซลลูโลส เนื่องจากสามารถผลิตเอนไซม์อะไมเลส และ เอนไซม์เซลลูเลสที่ดี ส่วนเชื้อแอคติโนมัยซีท CP15-9-2, CP58-9-18 และ CP15-6-9 เหมาะ สำหรับนำมาประยุกต์ใช้อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์นม เนื่องจากสามารถผลิตเอนไซม์โปรติเอสดีที่สุด เชื้อแอคติโนมัยซีท NS56-4-6 ที่เลี้ยงด้วยอาหารสูตร ISP2 มีประสิทธิภาพในการบาบัดน้ำเสีย สังเคราะห์ที่มีแป้งมันสำปะหลังเป็นองค์ประกอบได้ โดยสามารถลดค่า COD ลงได้ร้อยละ 69.40 แต่ไม่มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียจากโรงงานน้ำปลา th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject แอคติโนมัยซีท th_TH
dc.subject การบำบัดน้ำเสีย th_TH
dc.subject เอนไซม์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ประสิทธิภาพของแอคติโนมัยซีททะเลในการผลิตเอนไซม์เพื่อบำบัดเสีย th_TH
dc.title.alternative The efficiency of enzyme from marine Actinomycetes in waste water treatment en
dc.type Research th_TH
dc.author.email nisas@.buu.ac.th th_TH
dc.author.email janjarus@buu.ac.th th_TH
dc.author.email maliwan@buu.ac.th th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative Based on the activity of the enzyme. The actinomycetes were cultured in ISP2, salinity 17 ppt, pH 6.2, temperature 30oC for 4 days. The actinomycetes NS56-4-6, CP58-4-20 and CP58-9-16 show the best amylase activity. CP58-9-20, NS56-4-6 and PL1-4 show the best cellulase activity. CP15-9-2, CP58-9-18 and CP15-6-9 showed the highest protease activity. NS56-4-6, CP58-4-20, CP58-9-16, CP58-9-20 and PL1-4 have the potential to be used in the treatment of wastewater from starch industry or a industry with waste materials as a starch or cellulose. Because it can produce enzymes amylase and cellulase. Actinomycetes CP15-9-2, CP58-9-18 and CP15-6-9 are suitable for use in the dairy industry. Because the enzyme can produce the best protease. The ISP2 as culture medium of actinomycete is effective in treating synthetic wastewater with cassava starch COD reduction was 69.40%, but no efficiency in wastewater treatment from fish sauce factory. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account