DSpace Repository

ISO 9002 กับงานห้องสมุด: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author วันทนา กิติศรีวรพันธุ์
dc.contributor.other สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา th
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:19Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3310
dc.description.abstract จากนโยบายของทบวงมหาวิทยาลัยในเรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยประกาศใช้ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา จึงเลือกระบบคุณภาพ ISO 9002 มาใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการพัฒนาห้องสมุด เข้าสู่ระบบคุณภาพการให้บริการที่เป้นสากล ซึ่งหากสามารถนำระบบนี้มารับรองคุณภาพ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ รวมทั้งการยอมรับทั้งระดับประเทศและระดับนานาชาติ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ได้กำหนดแผนการดำเนินงานทั้งหมดรวม 13 ขั้นตอน และได้ดำเนินการไปแล้วบางส่วน ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือ ความไม่ชัดเจนหรือความยากในการตีความข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 9002 ให้เข้ากับลักษณะงานห้องสมุด ตลอดจนคณะกรรมการระบบคุณภาพ ISO 9002 มีภาระงานมากทำให้การดำเนินการตามแผนล่าช้า จึงมีข้อเสนอแนะว่าห้องสมุดที่จะนำระบบคุณภาพมาใช้ ควรมีที่ปรึกษาที่ความรู้ ความชำนาญ มีการแต่งตั้งคณะทำงานจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง และมีจำนวนที่เหมาะสม ควรส่งเสริมให้คณะทำงานและบุคลากรมีโอกาสพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO 9002 ควรแบ่งเบาภาระงานประจำของคณะทำงานชั่วคราว และศึกษากระบวนการทำงานของห้องสมุดให้ชัดเจน ก่อนจะนำระบบมาใช้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ประกันคุณภาพการศึกษา th_TH
dc.subject ไอเอสโอ 9002 th_TH
dc.subject ห้องสมุด - - การควบคุมคุณภาพ. th_TH
dc.subject ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา - - การควบคุมคุณภาพ. th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title ISO 9002 กับงานห้องสมุด: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.volume 7
dc.year 2543
dc.description.abstractalternative According to Ministry University Affair's policy about quality assurance for Thai Universities, Burapa University Library decided to use ISO 9002 for quality assurance in their library? The quality plans of the library were set up into 13 prpcedures and some procedures were taken actions. Problems facing the project were the difficulty of criteria interpretation and the library staff had to do their routine jobs. It was suggested that the library should have some quality assurance specialists to be the staff counselors in order to develop their quality knowledge and learn precisely about the library systems before using the quality assurance. en
dc.journal วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
dc.page 66-72.


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account