DSpace Repository

การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดเพื่อพัฒนาศักยภาพ ความเข้มแข็ง และความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาตำบลเกาะช้างใต้ จังหวัดตราด

Show simple item record

dc.contributor.author วุฒิชาติ สุนทรสมัย th
dc.contributor.author ธนาวุฒิ โรจนรุ่งทวี th
dc.contributor.author เกศริน อิ่มเล็ก th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:25Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:25Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/313
dc.description.abstract การศึกษาเรื่อง การถ่ายทอดองค์ความรุ้ด้านการตลาดเพื่อพัฒนาศักยภาพความเข้มแข็งและความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ของพื้นที่เกาะช้าง จังหวัดตราด มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและผู้สนใจประกอบการท่องเที่ยวที่พักโรงแรมแบบโฮมสเตย์ให้มีควยามรู้ด้านการตลาดในการประกอบการท่องเที่ยว ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ให้มีความรู้ด้านการตลาดในการประกอบการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ และศึกษาปัญหาในการประกอบธุรกิจตลอดจนส่งเสริมการร่วมมือกันของผู้ประกอบการแบบมีส่วนร่วมเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดจำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 6ชั่วโมง รวม 12 ชั่วโมง โดยกำหนดพื้นที่ วัตถุประสงค์ เนื้อหา สื่อประกอบเป็นคู่มือ และวิธีวิเคราะห์ข้อมูลรวมทั้งผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจ และระดับการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้จากการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรม ผลการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดซึ่งพิจารณาโดยอาศัยการจัดการเชิงระบบ 3 ประการดังนี้ 1. ปัจจัยนำเข้า ผู้วิจัยได้กำหนดแนวคิดในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดโดยใช้กลวิธีเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงเป็นหลัก การปรึกษา หารือ โดยอาศัยแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาด ซึ่งได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากการประชุมชี้แจงแก่ผู้สนใจเข้ารับการอบรมองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ซึ่งสามารถกำหนดสถานที่ เนื้อหา ทคนิค วิธีการ สื่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 2. การดำเนินงาน ผู้วิจัยและชุมชนร่วมมือกันประชาสัมพันธ์โครงการ และการดำเนินการถ่ายทอดความรู้ด้านการตลาดตามที่กำหนดไว้ 3. ผลการดำเนินงาน ผู้วิจัยได้ประเมินผลลัพธ์ของโครงการด้านความพึงพอใจและการประยุกต์ใช้ดังนี้ 3.1 ผู้รับการฝึกอบรมความรู้ด้านการตลาด จำนวน 9 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุระดับ 41 -45 ปี การศึกษาอ่านออกเขียนได้ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย 3.2 ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมมีความพึงพอใจมากต่อการบรรยายที่สนุกไม่น่าเบื่อ เนื้อหามีความน่าสนใจ ระยะเวลาที่เหมาะสม และการบริการอาหารว่าง/อาหารกลางวัน รวมทั้ง การได้ฝึกปฏิบัติจริง และนำไปใช้ได้จริง 3.3 ผลลลัพธืจากการถ่ายทอดฝึกอบรมมีความสอดคล้องด้านวัตถุประสงค์และเนื้ อหาของหลักสูตร เช่น โฮมสเตย์ในฝันของชาวเกาะช้าง บทเพลงที่ร่วมกันร้องและแต่งขึ้น โปรแกรมการท่องเที่ยว ผลการศึกษานี้ทำให้ทราบได้ว่าผู้ประกอบการมีความรู้พื้นฐานด้านการบริการอยู่มากแต่ยังขาดความช่วยเหลือด้านการตลาดอย่างถูกต้อง และสามารถทราบปัญหาที่สำคัญการประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ของตำบลเกาะช้าง จังหวัดตราด คือ การที่ผู้ประกอบการแต่ละบ้านต่างคนต่างทำ ขาดความร่วมมือของชุมชนเอง และขาดการประสานกับหน่วยงานระดับท้องถิ่น แม้ว่าผู้ประกอบการอาจจะเป็นญาติพี่น้องกัน ข้อเสนอแนะด้านการวิจัย คือ การติดตามผลการถ่ายทอดองค์ความมรู้ด้านการตลาดเพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ทั้งนี้อาศัยความสัมพันธ์ในลักษณะของความสัมพันธ์เชิงเครื่อข่ายชุมชนที่เป็นรูปธรรมทีค่มิได้มุ่งเน้นเป้าหมายทางเศรษฐกิจเท่านั้น แต่มุ่งการรู้รักสามัคคีเป็นแก่นแท้ นอกจากนี้ควรมีการศึกษาวิเคราะห์ และระบุปัญหาของชุมชนรายรอบที่ได้รับผลกระทบต่อการเข้ามาของนักท่องเที่ยวที่ต้องการที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ที่เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืนและต่อเนื่อง th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พุทธศักราช 2550 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การตลาด th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ th_TH
dc.subject อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดเพื่อพัฒนาศักยภาพ ความเข้มแข็ง และความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่พักแรมแบบโฮมสเตย์ กรณีศึกษาตำบลเกาะช้างใต้ จังหวัดตราด th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2550
dc.description.abstractalternative The study of the transference of knowledge to strengthen and sustain eco-tourism and home-stay business in Koh Chang, Trad aims to develop the entrepreneurs and other interest groups’ capacities/ efficiency, and to identify problems in conducting businesses in eco-tourism and home-stay business. In addition, this research also aims to promote the cooperation between the entrepreneurs and the community. This study is in the form of participatory action research in order to transfer bodies of knowledge in the fields of service skills, English skills, marketing skills, and financial and accounting skills. The area of study, objective, details, media, and evaluation criteria are scoped. The study found that : 1. Input factors: the research is mainly conducted through first-hand practices, and consultation.This is performed in accordance with the concept of the participation in transferring 4 bodies of knowledge namely; service skills, English skills, marketing skills, and financial and accounting skills. It is cooperated by the target groups, and the local administrative organization. Accordingly, details, techniques, methodology, and media can be well-determined. 2. Processes: the project is publicized, and aforementioned skills are transferred. 3. Resuits: the evaluation of the project is terms of satisfaction and the application of the knowledge as: 1.1 There are 18 people trained in service skills, 13 in English skills, 9 in marketing skills, and 11 in financial and accounting skills. Mostly, the participants are women aged between 41-45 with literary (primary) education. 1.2 The participants are satisfied with an interesting lecture, meals, coffee break service, and the facts that this transference of knowledge is practical and applicable. 1.3 The outputs of the training are training are different across on each objective and detail of the course. Some of those have been done in the forms of “ideal Home-stay for Koh Chang’s people, co-composed songs, touring programs, a Cash Book to record incomes and outcomes, and a monthly calculation of profits. The results show that the entrepreneurs have gained the basic service skills; however, they still lack of marketing support, English skills, and the accurate financial and accounting skills. It is acknowledged that the lack of cooperation among the entrepreneurs may be a major problem of eco-tourism and home-stay business in Koh Chang,Trad. The suggestion for further research is to monitor whether the knowledge is practical and applicable in a real situation. It might be done through networks in the community and it should not me focused on economic aspect, but on the harmony of the community. Furthermore, the study of problems raised by surrounding communities affected from continual floods of tourists who want to experience home-stay housing should be fruitful to conduct the research. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account