DSpace Repository

การจัดการการท่องเที่ยวสำหรับผู้พิการทางหู

Show simple item record

dc.contributor.author เพชรรัตน์ วิริยะสืบพงศ์
dc.contributor.author วีนัส สินหนัง
dc.contributor.author อัญเชิญพร เพ็งนวม
dc.contributor.author โชษิตา สุวัฒนมงคล
dc.contributor.author กุลิสรา เก่งพิทักษ์
dc.contributor.author ฉรรตตฤณษ์ บุญล้น
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:46Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:46Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2700
dc.description.abstract การท่องเที่ยวถือเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ช่วยให้ทุกคนเกิดความรู้และความสนุกสนานในการไปท่องเที่ยวในสถานที่ต่าง ๆ มากมาย แต่สำหรับผู้พิการยังมีข้อจำกัดต่าง ๆ มากมายในด้านการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการได้รับการดูแล เป็นต้น และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในปัจจุบันยังไม่มีแผนการรองรับนักท่องเที่ยวในกลุ่มนี้ ทำให้ผู้พิการไม่สามารถไปเที่ยวในสถานที่ต่าง ๆ อย่างคนปกติทั่วไปได้ ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการวิจัยในครั้งนี้ขึ้น เพื่อให้สามารถเป็นแนวทางให้กับผู้ประกอบการบริษัททัวร์ในการจัดการการท่องเที่ยวสำหรับผู้พิการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพราะแม้นักท่องเที่ยวในกลุ่มนี้จะเป็นผู้พิการ แต่พวกเขาก็มีสิทธิมนุษยชนเหมือนกับคนปกติทั่วไปตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ ซึ่งการวิจัยฉบับนี้จะใช้วิธีโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการศึกษาพบว่าทฤษฎีกระบวนการจัดการธุรกิจนำเที่ยว สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ 2 มุมมอง คือ มุมมองแรก ความต้องการทางด้านการจัดการท่องเที่ยวในมุมมองของผู้พิการทางหู ได้แก่ นักเรียนมีการวางแผนในการเตรียมตัวในเรื่องของสิ่งของเครื่องใช้ ความต้องการการได้รับการดูแลจากบริษัททัวร์ แรงจูงใจในการไปเที่ยว ข้อจำกัดในการท่องเที่ยว และเกณฑ์ในการคัดเลือกบริษัททัวร์ มุมมองที่สอง การจัดการการท่องเที่ยวในมุมมองของผู้ประกอบการ ได้แก่ การวางแผนการรองรับผู้พิการทางหูด้านการท่องเที่ยว การจัดหาบุคลากรที่มีความชำนาญทางด้านภาษามือ หรือการฝึกอบรมบุคลากร เพื่อสะดวกในการติดต่อสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็บไซด์ การรองรับข้อจำกัดของผู้พิการทางหู รวมไปถึงการติดตามและประเมินผล ซึ่งผู้ประกอบการควรนำข้อมูลของทั้งสองมุมมอง มาศึกษาและวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่ผลการวิจัยที่นำไปปฏิบัติ The tourism is the activity for everyone to be acknowledge able and be enjoyable to many of tourist attractions. However, the disable people still have limited in many perspectives of tourism, whether of the facilities or caring etc. The tourism industry currently hasn’t back up plan for accommodated this group. The disable people couldn’t travel to many places like ordinary people. This is why the purposed of this research to be methods for the tourism entrepreneurs to management their operation for the disabled by the efficiency and effectiveness. Even though, this tourists are the disabled but they have the human right same as ordinary people according to the Human Rights Convention be related to the disabilities people. This research used the qualitative method by in-depth interviews. The results could apply by the tour management process theory as two perspectives which were shown as follows; The first perspective, the need of tourism management in the hearing impaired such as; the student might plan to prepare for implements, the need to take care by the tourism operation company, motivated for Travel, the limited for travel and the standard of selected by the tourist operation company. The second perspective, the travel management by perspective of the entrepreneur such as; to settle travel plan for the hearing impaired people, the procurement for employees who have sign language ability and training personnel ability for comfortable to communication, the public relation by website, to support the limit of the hearing impaired people, including to monitor and to evaluate. The entrepreneur should educate and analyze for the both of perspectives to the best benefit for management. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การท่องเที่ยว - - การจัดการ th_TH
dc.subject คนหูหนวก th_TH
dc.subject บริษัทนำเที่ยว th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การจัดการการท่องเที่ยวสำหรับผู้พิการทางหู th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 3
dc.year 2557
dc.journal วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 89-104.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account