DSpace Repository

งบประมาณน้ำจืดและเกลือในเอสทูรีบริเวณปากแม่น้ำบางประกงในฤดูน้ำมากและฤดูแล้ง

Show simple item record

dc.contributor.author อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.author พิชาญ สว่างวงศ์
dc.contributor.author ปราโมทย์ โศจิศุภร
dc.contributor.author กฤษณพล สร้อยวัน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2667
dc.description.abstract คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษางบประมาณน้ำจืดและเกลือในเอสทูรีบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงในฤดูน้ำมากและฤดูแล้งโดยใช้เทคนิค Box model ผลการศึกษาพบว่า น้ำจืดที่ไหลจากบริเวณเอสทูรีออกสู่ทะเลภายนอกมีปริมาณสุทธิ 3,742 x 10 6 m3/ month และ 3.2 x10 6 m3/month ในฤดูน้ำมากและฤดูน้ำแล้งตามลำดับ ในขณะที่มีการแลกเปลี่ยนเกลือระหว่างเอสทูรีและทะเลภายนอกในฤดูน้ำมาก 66,738.5 x 10 6 psu m3/ month และในฤดูน้ำน้อยเท่ากับ 106.6 x 10 6 psu m3/month ค่าคงที่การผสมผสาน (Mixing coefficient: Kh) ในฤดูน้ำมาก (376.322m2/s) มีค่ามากกว่าในฤดูแล้ง (11.355 m2/s) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในฤดูน้ำมากมีการผสมผสานของน้ำในแนวราบได้ดีกว่าในฤดูแล้ง และจากการคำนวณหาค่าระยะเวลาพำนักตัว (Residence time) ของน้ำจือในเอสทูรี พบว่ามีค่า 1.04 วันในฤดูน้ำมาก และมีค่า 44 วันในฤดูแล้ง แสดงให้เห็นความเป็นไปได้ว่าสารต่าง ๆ ที่อยู่ในน้ำจืด มีโอกาสที่จะสะสมตัวอยู่ในเอสทูรีในฤดูแล้งได้ดีกว่าในฤดูน้ำมาก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject น้ำจืด th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject เอสทูรี - - แม่น้ำบางประกง th_TH
dc.title งบประมาณน้ำจืดและเกลือในเอสทูรีบริเวณปากแม่น้ำบางประกงในฤดูน้ำมากและฤดูแล้ง th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 2
dc.year 2545
dc.description.abstractalternative Box model analysis was applied to study the freshwater and salt budgets of the Bangpakong estuary in wet (September 1995) and dry seasons (April 1996). The results showed that freshwater 3,742.2x10 6 m 3/month and 3.2 x 10 6 m 3/ month flowed from the estuary to the sea in wet and dry seasons, respectively. Salt from the sea transporting to the estuary compensated by that from the estuary to the sae were 66,738.5 x 10 6 psu m 3/month in wet season and 106.6 x 10 6 psu m3 month in dry season. Higher value of mixing coefficent (Kh) in wet season (376.322 m2/s) and lower of that in dry season (11.355 m2/s) well represented stronger horizontal mixing in wet season. The residence tine of freshwater from the Bangpakong river was short (1.04 days) in wet season and long in dry season (44 days). This result suggested that the possibility of substances coming with river water could be accumulated in the estuary in dry season longer than in wet season. en
dc.journal วารสารวิชาการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Academic journal, Faculty Senate Council of Burapha University
dc.page 74-86.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account