DSpace Repository

การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการอุดมศึกษาของประเทศไทย: การศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.author สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2665
dc.description.abstract บทความนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาโดยละเอียดให้เห็นถึงโครงสร้างการบริหารจัดการอุดมศึกษาของไทยในเชิงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ โดยเริ่มในราวปลายทวรรษ 1950 เมื่อรัฐบาลไทยในขณะนั้นมีความมุ่งมั่นที่จะรวมมหาวิทยาลัยของรัฐ ซึ่งสังกัดอยู่หลายกระทรวงเข้าด้วยกันภายใต้หน่วยบริหารจัดการเดียวกันชื่อ สภามหาวิทยาลัย แห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลากว่า 40 ปี ที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะบทบัญญัติทางกฎหมายและการต่อสู้เรียกร้องของผู้ที่อยู่ในแวดวงของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีผลต่อการจัดรูปแบบโครงสร้างการบริหารจัดการจนกลายมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน การศึกษาได้แสดงให้เห็นถึงเหตุผลการจัดตั้งทบวงมหาวิทยาลัยขึ้นเป็นหน่วยงานอิสระจากกระทรวงศึกษา ตลอดจนทำการศึกษาถึงบทบาท อำนาจหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อระบบการบริหารจัดการอุดมศึกษาของประเทศ พร้อมทั้งได้ให้ข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล ในการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมที่กำลังเปลี่ยนแปลงในภาวะปัจจุบัน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การจัดส่วนราชการ th_TH
dc.subject การบริหารการศึกษา th_TH
dc.subject การศึกษาขั้นอุดมศึกษา th_TH
dc.subject ทบวงมหาวิทยาลัย th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการอุดมศึกษาของประเทศไทย: การศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์ th_TH
dc.title.alternative Restructuring the governance structure of Thai higher education : A historical approach
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 2
dc.year 2545
dc.description.abstractalternative The paper presents a comprehensive study of historical development of the governance structure of Thai higher education. Thailand's first governing structure in the late 1950s when the Thai government determined to pull the public universities together under a single administrative body, the University council. However, through a period of 40 years, some crucial factors, especially legal mandates and struggles of university staff, have designed and shaped the governance structure to its current form. The study also gives the reasons why the Ministry of University affairs was established separately the Ministry of education. Major actors as well as their roles and influence in the governance system of higher education will be investigated. Some recommendations for effective governance responding to the current changing environment will also be suggested. en
dc.journal วารสารวิชาการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 95-117.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account