DSpace Repository

ความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author อิทธิเดช น้อยไม้
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ"
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2514
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองและความต้องการของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ด้านเนื้อหาสาระ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านสื่อ และแหล่งเรียนรู้ ด้านการวัดผลและประเมินผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยโดยตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถาม 2) การสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ส่วนการวิเคราะห์ ข้อมูลจากการสนทนากลุ่มใช้การสรุปวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ในระดับมากทุกด้าน และเมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนตามเพศและระดับชั้น พบว่าไม่แตกต่างกัน 2. ความคิดเห็นของผู้ปกครองที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ในระดับมากทุกด้าน และเมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ปกครองตามระดับชั้น พบว่าไม่แตกต่างกัน 3. ความต้องการของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พบว่านักเรียนต้องการให้มีการปรับลดเนื้อหาสาระ จัดกิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ เน้นการใช้สื่อการสอนประเภทเทคโนโลยี มอบหมายการบ้านให้น้อยลงและออกข้อสอบที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับนักเรียน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การบริหารการศึกษา th_TH
dc.subject นักเรียน - - ทัศนคติ th_TH
dc.subject สังคมศึกษา - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) th_TH
dc.subject โรงเรียนสาธิต th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา
dc.title ความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 23
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were to study the students and parents opinions and students’needs concern the learning management of Social Studies, Religion, and Culture Learning Substance : a case of Piboonbumpen Demonstration school Burapha University. The learning management covered, subject content , teaching and learning activities, instructional medias and measurement and evaluation. The samples in this study were 390 lower and upper secondary students in the second semester of the academic year of 2009 Piboonbumpen Demonstration school. The instruments which were used in this study consisted of 1) Questionnaires. 2) Focus Group. Statistics used to analyze the data were percentage (for the questionnaire), mean (X), standard deviation (SD) and t-test. The data analysis for focus group discussion was content analysis. The findings were as follows: 1. The students’ opinion to the learning management of Social studies, Religion, and Culture Learning Substance was found at the high level in all aspects in the opinion as the result of the differences in education level and gender. There was no statistically significant difference. 2. The parents opinion to the learning management of Social studies, Religion, and Culture Learning Substance was at the high level in all aspects when was compared based on the education level, it was found no statistical significant difference. 3. The student focus group discussion data analysis on the learning management of Social Studies, Religion, and Culture Learning Substance revealed that students needed less content, needed field trip activities, more use of instructional media, less class assignments and the level of difficulty of the examination should be made appropriate to student’s ability. en
dc.journal วารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education.
dc.page 134-143.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account