DSpace Repository

การสังเคราะห์ฟิล์มพอลิยูรีเธนจากน้ำมันสกัดของเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์

Show simple item record

dc.contributor.author พรเพ็ญ อาทรกิจวัฒน์
dc.contributor.author เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล
dc.contributor.author พัชร์ชานันท์ ไชยวรรธ์ณ
dc.contributor.author วิศวัฒน์ สกุลศักดิ์นิมิตร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:50Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:50Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2410
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์พอลิยูรีเธนจากคาร์ดานอลซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทดแทนได้ โดยการสังเคราะห์ เริ่มจากการปรับปรุงโครงสร้างของมอนอเมอร์ที่ผลิตจากคาร์ดานอลให้เป็นสารประกอบไดออล แล้วจึงนำไดออลที่ได้มาทำปฏิกิริยา พอลิเมอไรเซชันกับสารประกอบไอโซไซยาเนต ที่อัตราส่วน 1:1 และ 1:2 ซึ่งไดออลที่ใช้ คือ diazo-cardanol และ diazo-phenol สารประกอบไอโซไซยาเนตที่ใช้คือ hexamethylene diisocyanate trimer และ isophorone diisocyanate เอกลักษณ์ของมอนอเมอร์ พิสูจน์โดยใช้เทคนิคอินฟราเรด สเปกโทรสโกปี และเอ็นเอ็มอาร์สเปกโทรสโกปี และทดสอบความแข็งตามหลักการ ASTM D3363 พบว่า ความแข็งแรงของฟิล์มพอลิยูรีเธนที่ได้จะขึ้นกับโครงสร้างของสารประกอบที่ใช้เป็นหลัก โดยที่สายโซ่คาร์บอนของคาร์ดานอลจะทำให้เกิด ความยืดหยุ่นที่มากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับโครงสร้างของฟีนอล th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject คาร์ดานอล th_TH
dc.subject มะม่วงหิมพานต์ - - เมล็ด th_TH
dc.subject โพลิยูริเธน th_TH
dc.subject ไดออล th_TH
dc.subject ไอโซไซยาเนต th_TH
dc.title การสังเคราะห์ฟิล์มพอลิยูรีเธนจากน้ำมันสกัดของเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 17
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative This research involves the synthesis of polyurethanes from cardanol, a renewable resource. The synthesis started with modification of monomer obtained from cardanol to diol compounds, which can be polymerized with isocyanate compound to give polyurethanes. The ratios of diol to isocyanate at the mole equivalent of 1:1 and 1:2 were conducted. Diazo-cardanol and diazo-phenol were used as diols and hexamethylene diisocyanate trimer and isophorone diisocyanate were used as isocyanates. Monomers were characterized by Fourier Transform Infrared spectroscopy and Nuclear Magnetic Resonance spectroscopy. Hardness of the films was determined by ASTM standard D3363. The results show that the properties of polyurethane films were dependent on the chemical structure of both diol and isocyanate. The long alkyl side chain of cardanol created the flexibility, compared to phenol structure. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page 82-90.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account