DSpace Repository

เกณฑ์ตัดสินคุณค่าของมนุษย์ตามทัศนะของเพลโตกับพุทธศาสนา

Show simple item record

dc.contributor.author ขันทอง วิชาเดช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:42Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:42Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2157
dc.description.abstract ความคิดทางปรัชญาที่สำคัญซึ่งเป็นแก่นความคิดของเพลโตก็คือเรื่อง “แบบ (Form) หรือ มโนคติ (idea)” แบบ หมายถึง สภาวะที่มีอยู่จริงดำรงอยู่จริงได้ด้วยตัวเอง เป็นศูนย์รวมของแบบทุกชนิด เช่น แบบของความงาม แบบของความดี แบบของคนและสัตว์ เป็นต้น และข้อสำคัญแบบเป็นแม่แบบ แม่พิมพ์ของสรรพสิ่ง สิ่งเฉพาะทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในโลกแห่งประสบการณ์ที่เราพบเห็นกันอยู่ทุกวันนี้ ล้วนถ่ายแบบหรือถูกจำลองมาจากโลกแห่งแบบซึ่งอยู่เบื้องหลังโลกแห่งประสบการณ์ในฐานะเป็นสารัตถะที่สำคัญ ดังนั้น เป้าหมายสูงสุดที่มนุษย์ต้องก้าวไปให้ถึงในทัศนะของเพลโตก็คือการบรรลุสู่ “โลกแห่งแบบ” แต่เป็นแบบแห่งความดี และความสุขสูงสุด เพราะนั่นเป็นสัจธรรมอันคงมั่นนิรันดร สำหรับพุทธศาสนาอธิบายว่า มนุษย์มาจากพรหมชั้นอาภัสสระดังปรากฏในพระสูตรชื่อ “อัคคัญญสูตร” แต่เมื่อสาวถึงต้นเค้าแห่งความเป็นมาของมนุษย์จะพบว่า พรหมชั้นอาภัสสระก็มาจากมนุษย์ตามระยะความเสื่อมและความเจริญของโลก ความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในทำนองสูง ๆ (เป็นพรหม) ต่ำ ๆ (เป็นมนุษย์) ล้วนเกิดจาก จริยธรรมของปัจเจกบุคคล th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ปรัชญา th_TH
dc.subject มนุษย์ (พุทธศาสนา) th_TH
dc.subject มนุษย์ th_TH
dc.subject มโนคติ th_TH
dc.subject เปลโต th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title เกณฑ์ตัดสินคุณค่าของมนุษย์ตามทัศนะของเพลโตกับพุทธศาสนา th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 21
dc.volume 14
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative In platonic philosophy the concept of “Form” or “Idea” is considered to be his cardinal and essential thought. It means the real state, self existing being and the centre of all kids of from such as form of beauty, form of the good, form of men and form of animals. Moreover, form is model and source of all things and the individual things appeared in the empirical world which we all experience in daily life are copy or representation of the world of form existing as an important essence beyond the empirical world. Hence, according to Plato, the highest goal of human beings is the reali zation of “the world of form” which is form of the good and the highest happiness, for it is an eternal truth. For Buddhism, human beings came from the Abhassara Brahma world as appeared in Agganna Sutta. However, when we deeply traced back to the origin of human beings, we found that Brahma in Abhassara world also came from human beings due to dissolution and evolution of the world. The changes of human beings into the high evolution (Brahma) and low dissolution (human being) were indeed due to individual ethics. en
dc.journal วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 29-48.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account