DSpace Repository

ศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างห้องสมุดดิจิทัลเพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับสนับสนุนระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออกของประเทศไทย.

Show simple item record

dc.contributor.author ขวัญชฎิล พิศาลพงศ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/209
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาและนำเสนอแบบจำลอง (Model) ของความเป็นไปได้ในการสรางห้องสมุดดิจิทัล เพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออก โดยผู้วิจัยได้ปรึกษาและเปรียบเทียบความต้องการห้องสมุดดิจิทัลสำหรับการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออกของผู้ใช้บริการ (อาจารย์และนิสิต/ นักศึกษา) จำแนกตามสถานภาพและสาขาวิชาของผู้ใช้บริการโดยการสำรวจความคิดเห็น รวมถึงได้ศึกษาปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกจากกลุ่มผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล โดยการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนได้ศึกษาและสังเคราะห์สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาห้องสมุดดิจทัลสำหรับการสนับสนุนระบบการเรียนการสอนทางไกล หลังจากนั้นจึงได้นำข้อมูลทั้งหมดมาพัฒนาแบบจำลองที่เป็นไปได้ในการสร้างห้องสมุดดิจิทัลเพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับสนับสนุนระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออกของประเทศไทย (ครั้งที่ 1) แล้วจึงให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินชิ้นงานต้นแบบแล้วจึงปรับเปลี่ยนแบบจำลองครั้งที่ 1 ให้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะกับผู้ทรงคุณวุฒิ ได้รูปแบบที่แก้ไขแล้ว คือแบจำลองที่เป็นไปได้ในการสร้างห้องสมุดดิจิทัลเพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับสนับสนุนระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออกของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) ซึ่งประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การสนับสนุนของสถาบัน 2) วัตถุประสงค์ในการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัล 3) คณะกรรมการดำเนินงาน 4) การบริหารจัดการและดำเนินงาน 5) เทคดนโลยีสารสนเทศ 6) การเข้าถึงสารสนเทศและการให้บริการ 7) ลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา 8) การประเมินผลและการควบคุมคุณภาพ/ มาตรฐาน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ th_TH
dc.subject ห้องสมุดดิจิตอล - - แบบจำลอง th_TH
dc.subject ห้องสมุด - - การใช้เครื่องจักรกล th_TH
dc.subject ห้องสมุดอัตโนมัติ - - ไทย - - การวางแผน th_TH
dc.subject ห้องสมุดดิจิตอล - - ไทย - - การวางแผน th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title ศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างห้องสมุดดิจิทัลเพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับสนับสนุนระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านเครือข่ายร่วมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันออกของประเทศไทย. th_TH
dc.title.alternative A study of possibility of digital library implementation as a standard of supporting distance learning system for a network of universities in the East of Thailand. en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative The main objective of this research was to develop and propose the model of the possibility of digital library implementation as a standard of supporting distance learning system for a network of universities in the East of Thailand. The objectives of the research were also to study and compare users' need of didital library statuses and subject areas of digital library users (faculty members and students) by using questionnaire, as well as study the factors affecting the digital library development by using questionnaire and interview with the administratve and operative staffs involved in digital library development. After studying related literature and synthesizing all the gathered information from the survey both by questionnaires and interview, then the first digital library development model was set up. This first model was evaluated by five experts in the area of digital library development, the model was then adjusted to fit with the recommendations made by them. The second model was then developed based on the adjustment. The second model comprised 8 key components, which included 1) institutional support 2) objectives 3) committees 4) management and process 5) information technology 6) access and service 7) copyright and intellectual property 8) evaluation and quality standard control. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account