DSpace Repository

การประเมินสัดส่วนผสมของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและคอนกรีตผสมฝุ่นหินปูนในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.author บุญไชย สถิตมั่นในธรรม
dc.contributor.author ธิดาพร เชื้อสวัสดิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:42Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1796
dc.description.abstract เป็นที่ทราบกันดีว่า สัดส่วนผสมคอนกรีตมีผลกระทบต่อทั้งคุณสมบัติทางกลและความคงทนของคอนกรีต ดังนั้น ส่วนผสมของคอนกรีตจึงเป็นข้อมูลที่จำเป็นในการที่จะประเมินความคงทนและทำนายอายุการใช้งานของโครงสร้างคอนกรีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโคงสร้างคอนกรีตที่อายุมากแล้ว ซึ่งมักจะไม่สามารถหาเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับสัดส่วนผสม ผสมคอนกรีตได้แล้ว นอกจากนี้แล้วเมื่อคอนกรีตเกิดปัญหาขึ้น โดยคาดว่าสาเหตุน่าจะมาจากสัดส่วนผสมคอนกรีตนั้นอาจไม่เป็นไปตามที่กำหนด ซึ้งจะทำให้เกิดกรณีขัดแย้งกันระหว่างเข้าของโครงการกับผู้ผลิตคอนกรีต และผู้รับเหมา เพราะฉนั้น การวิเคราะห์หาสัด่าวนผสมคอนกรีตจึงมีความจำเป็นในกรณีที่คุณภาพคอนกรีตมีปัญหา โดยในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการหาสัดส่วนผสมคอนกรีตจึงมีความจำเป็นในกรณีที่คุณภาพคอนกรีตที่ปัญหา โดยในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการห่สัดส่วนผสมคอนกรีตที่เป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กันได้โดยทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากชนิดของวัสดุที่ใช้ในการทำคอนกรีตนั้นมีหลากหลาย ทำให้มีข้อจำกัดในการนำมาใช้ อีกทั้งการทดสอบก็มักจะมีความยุ่งยากซับซ้อน ทำให้ผู้ทดสอบจะต้องมีทักษะเฉพาะทางเคมีที่ดี และวิธีการส่วนใหญ่มักจะหาได้ที่อายุจำเพราะที่ช่วงอายุหลัง (mature concrete) นอกจากนี้ วิธีการที่ถูกพัฒนาขึ้นและนำเสนอไว้ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักจะสามารถวิเคราะห์ได้เฉพาะคอนกรีตประเภทปูนซีเมนต์ล้วนเท่านั้น ( cement concrete )ในบางวิธีอาจจะสามารถวิเคราะห์ได้หากมีวัสดุผสมเพิ่มบางชนิด แต่ก็มีความยุ่งยากซับซ้อนและข้อจำกัดมากขึ้นด้วย แต่ในปัจจุบันได้มีการใช้วัสดุผสมเพิ่มเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของคอนกรีตกันอย่างหลากหลาย อย่างเช่นเถ้าลอยหรือฝุ่นหินปูนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในประเทศไทย ดังนั้น วิธีการวิเคราะห์หาสัดส่วนผสมคอนกรีต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คอนกรีตที่ผสมวัสดุผสมเพิ่มจึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการพัฒนาและสามารถนำไปใช้ได้จริง ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการวิเคราะห์หาสัดส่วนผสมของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วที่ผสมวัสดุผสมเพิ่มที่นิยมใช้กันในประเทศ ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้ทั้งคอนกรีตที่มีอายุน้อยและอายุมากแล้ว โดยสัดส่วนผสมที่หาได้ประกอบด้วย สัดส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน, ปริมาณของ น้ำ, ปูนซีเมนต์, วัสดุผสมเพิ่ม,ทราย และ หิน ซึ่งหลายเทคนิคถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งคุณสมบัติทางกายภาพ,ทางกล และทางเคมี เช่น การวิเคราะห์ทางภาพถ่าย (Image analysis)สำหรับหาปริมาณหินในตัวอย่าง หรือ ในการหาอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน สามารถทหใฟ้ได้การคำนวณย้อนกลับจากค่ากำลังรับแรงอัดโดยใช้คอมพิวเตอร์ซอร์ฟแวร์ เป็นต้น และผลการทดสอบจากวิธีการต่างๆจะถูกน้ำมาวิเคราะห์ด้วยสมการบนหลักการสมดุลของมวลรวม (mass balance) โดยตัวอย่างที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งคุณสมบัติทางกายภาพ, ทางกล และทางเคมี เช่น การวิเคราะห์ทางกายภาพ( Image analysis) สำหรับหาปริมาณหินในตัวอย่าง หรือในการหาอัตราส่วนน้ำต่อวัตถุประสาน สามารถทำได้จากการคำนวณย้อนกลับจากค่ากำลังรับแรงอัดโดยใช้คอมพิวเตอร์ซอร์ฟแวร์ เป็นต้น และผลการทดสอบจากวิธีการต่างๆจะถูกน้ำมาวิเคราะห์ด้วยสมการบนหลักการสมดุลมวลรวม(mass balance) โดยตัวอย่างที่นำมาใช้ในการทดสอบจะถูกเตรียมขึ้นในห้องปฏิบัติการและรู้สัดส่วนผสมตั้งต้น ทำให้สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ และประเมินประสิทธิภาพของวิธีการที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ซึ่งจากผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า ผลการวิเคราะห์สัดส่วนของตัวอย่างส่วนใหญ่ด้วยวิธีการที่ถูดพัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพที่ดีในระดับหนึ่ง แม้ตัวอย่างที่อายุต่างกันก็สามารถหาสัดส่วนผสมได้เหมือนกัน th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คอนกรีตผสมเถ้า th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การประเมินสัดส่วนผสมของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและคอนกรีตผสมฝุ่นหินปูนในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว th_TH
dc.title.alternative Determination of mix proportion of hardened concrete containing fly ash or limestone powder en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative The mix proportion of concrete is necessary for evaluation of durability and to estimate service life of existing concrete structures. When concrete problems occurred such as poor strength development after casting, the mix proportion of concrete is very essential to be examined. However, the record of concrete mix design is often unavailable, leading to a difficulty in predicting the condition Structure Moreover, this is often conducted when non-compliance with the mix specification is suspected along with conflicts among project owner, concrete supplier and contractor To identify the mix proportion of hardened concrete, several techniques have been developed Nevertheless, there is no universally applicable method for accurately determining mix proportion of hardened concrete because of the wide variety of materials from which concrete is made and the conditions to which it may have been subjected. Moreover, a promising method developed to identify the concrete mix design encompassing binder type, w/b, content of cement and other binder, sand and coarse aggregate content does not exist In this research, a method for determination of mix proportion of hardened concrete encompassing w/b, and content of water, cement, sand and coarse aggregate proposed. The hardened concrete, which is cement concrete, cement-fly ash concrete and cement-limestone powder concrete at early age and later age, was investigated in this study. Many techniques will be adopted to examine chemicals properties, physical properties and mechanical properties of the concrete. In the analysis, three major investigation techniques were implemented. Image processing technique was used for determination of coarse aggregate content. Water to binder ratio was calculated from data back analysis of the compressive strength by using a computer software. Cement, fly ash, limestone powder and sand contents were obtained from equations which were formed based on the mass balance condition of sample. The developed method was applied to estimate mix proportions of concrete prepared in the laboratory with known mix design in order to verify its efficiency used to From the analytical results, it was found that the developed method could be water to estimate mix proportion of hardened concrete with different type of binder the binder ratios and aggregate content at any age of concrete. It can be seen that proposed method can be used to estimate mix proportion of hardened concrete with good accuracy, which was acceptable, for almost tested mixtures except some sample of limestone powder concrete. Moreover, analytical result of mix proportion of same concrete sample at different age can also be accurately determined since the effect of age of concrete is covered by taking into account the degree of hydration he analysis en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account