DSpace Repository

การศึกษาปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันของตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็ง

Show simple item record

dc.contributor.author สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.author กมลชนก ปานสง่า
dc.contributor.author ณัฐนรินทร์ ศรีเอกกวีรัตน์
dc.contributor.author สรเพชร ภิญโญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:20Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1214
dc.description.abstract การทดสอบปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่พัฒนาในงานวิจัยนี้ ได้แก่แคลเซียมออกไซด์ (CaO(rt)), แคลเซียมออกไซด์เผาที่อุณหภูมิ 800 ºc (CaO(800ºc)), สตรอนเทียมออกไซด์ (SrO), 5% สตรอนเทียมออกไซด์บนแคลเซียมออกไซด์ (5%SrO/CaO), 5% โพแทสเซียมออกไซด์บนแคลเซียมออกไซด์ (5%K_2 O/CaO) และ สตรอนเทียมออกไซด์ผสมกับแคลเซียมออกไซด์ที่ 50% โดยน้ำหนัก (50SrO/50CaO) ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกน้ำไปทดสอบที่อัตราส่วนของน้ำมันปาล์มและเมทานอลโดยโมล (1: 6), อุณหภูมิ 65 ºc และระยะเวลาทดสอบ 3 ชม. โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 10% โดยน้ำหนัก พบว่า % Fatty Acid Methyl Ester (%FAME) ที่เกิดจากปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันของตัวเร่งปฏิกิริยา 50SrO/50CaO, SrO, CaO(rt) และ CaO(800ºc) ที่ 92%, 91%, 89% และ 83% ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณและความแข็งแรงของเบสบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาทดสอบโดยวิธีการคายซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตามโปรแกรมอุณหภูมิ (CO_2- Temperature Programmed Desorption) และพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยา 5%K_2 O/CaO และ 5%SrO/CaO ไม่สามารถเร่งปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชัน เนื่องจากไม่พบกลีเซอรอลหลังจากการทดสอบ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปริมาณเบสที่มีความแข็งแรงมากกว่า 500 ºc จำนวนต่ำจึงไม่สามารถเร่งการเกิดปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชัน th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชัน th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การศึกษาปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันของตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็ง th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2553
dc.description.abstractalternative The transesterification was tested by solid catalysts which were developed in the present study i.e. Calcium Oxide (CaO), Calcium Oxide after firing at 800 ºc, Strontium Oxide (SrO), 5% Strontium oxide on Calcium oxide (5%SrO/CaO), 5% Potassium oxide on Calcium oxide (5%K_2 O/CaO) and Strontium oxide mechanically mixed with Calcium oxide at 50% by weight (50SrO/50CaO). The transesterification was carried out at molar ratio of Palm oil and methanol at 1 : 6, 65 ºc and 3 h. The solid catalyst was employed at 10% by wt of Palm oil. The transesterification revealed % Fatty acid methyl ester (%FAME) of 50SrO/50CaO, SrO, CaO(rt) and CaO(800ºc) at 92%, 91%, 89% and 83%, respectively. The percentages of FAME are in accordance with a number of base sites, basic strengths and BET surface area. No trace of glycerol was found by %5K_2 O/CaO and 5%SrO/CaO, hence the transesterification can be catalyzed by neither %K_2 O/CaO nor 5%SrO/CaO possibly due to lack of strong basic sites. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account