DSpace Repository

การพัฒนาโปรแกรมทำนายระยะเวลากัดกร่อนเริ่มต้นของเหล็กเสริฒในคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านที่แช่ในสภาวะแวดล้อมทะเล

Show simple item record

dc.contributor.author วิเชียร ชาลี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:20Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1159
dc.description.abstract ในงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแบบจำลองเพื่อใช้ทำนายสถานการณ์กัดกร่อนของคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใช้ในสภาวะแวดล้อมทะเล โดยแบบจำลองที่ใช้ในการทำนายสร้างจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษาผลของสภาวะแวดล้อมทะเลต่อการกัดกร่อนในคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหิน ซึ่งแช่ตัวอย่างคอนกรีตในน้ำทะเลเป็นเวลา 5 ปี ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ค่าอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานระหว่าง 0.45 ถึง 0.65, ปริมาณเถ้าถ่านหินในคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหินในคอนกรีต ร้อยละ 0 ถึง 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน แลระยะเวลาในการแช่คอนกรีตตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป รวมทั้งได้พัฒนารูปแบบของการนำไปใช้งานให้ง่ายขึ้นโดยใช้โปรแกรม Visual Basic 6.0 ซึ่งผลลัพธ์ของการทำนายได้แก่ ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเพื่อกันการกัดกร่อนเริ่มต้น และระยะเวลาที่คอนกรีตเสริมเหล็กที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมทะเลเริ่มมีการกัดกร่อน นอกจากนั้นได้ตรวจสอบผลการทำนายกับผลการทดลองที่ระยะเวลาแช่น้ำทะเลถึง 5 ปี และผลการวิจัยของนักวิจัยท่านอื่น ๆ ตลอดจนได้เปรียบเทียบผลการทำนายกับแบบจำลองอื่นๆ ภายใต้เงื่อนไขที่ใกล้เคียงกันด้วย โปรแกรมนี้สามารถทำนายระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเพื่อป้องกันการกัดกร่อนเริ่มต้น และระยะเวลาที่เริ่มมีการกัดกร่อนในเหล็กเสริมของคอนกรีตธรรมดาและคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหินไม่เกินร้อยละ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานอยู่ในช่วง 0.45 ถึง 0.65 แลอายุแช่น้ำทะเลตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งโปรแกรมนี้สามารถใช้ได้เฉพาโครงสร้างคอนกรีตที่มีลักษณะการซึมผ่านของคลอไรต์ในทิศทางเดียวเท่านั้น นอกจากนั้นพบว่าการทำนายสถานะการกัดกร่อนจะมีความแม่นยำมากขึ้นเมื่อปริมาณเถ้าถ่านหินที่แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในคอนกรีตมีค่าสูงขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject Visual Basic th_TH
dc.subject การกัดกร่อนเริ่มต้น th_TH
dc.subject การทำนาย th_TH
dc.subject สภาวะแวดล้อมทะเล th_TH
dc.subject เถ้าถ่านหิน th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title การพัฒนาโปรแกรมทำนายระยะเวลากัดกร่อนเริ่มต้นของเหล็กเสริฒในคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านที่แช่ในสภาวะแวดล้อมทะเล th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2551
dc.description.abstractalternative In this work, a model for predicting the corrosion state of steel reinforcement in fly ash concrete for marine environment was developed. The model was derived based on the experimental data of fly ash concretes in sea water up to 5-year exposure. Input variables were W/B ratios (varying from 0.45 to 0.65), fly ash contents (up to 50%), and exposure period (beyond 2 years). Besides, the model was continually developed for easy use by using Visual Basic 6.0. The outcome presented the required concrete cover depth against the initial corrosion and initial corrosion period of steel reinforcement in marine environment. In addition, the prediction results of this model were compared with the experimental investigated of exposed samples in sea water up to 6 years. Furthermore, the proposed model was also compared with other researches and prediction model under the same condition. This program is able to predict the required cover depth of concrete to protect the initial corrosion and initial corrosion period of reinforcing steel in cement and fly ash concretes at any period beyond 2-year exposure in marine environment. The appreciate results could be obtained for concrete with W./B ratio ranging from 0.45 to 0.65 and the fly ash replacement ranging from 0 to 50% by weight of binder. The limited application of the model is that the ingress of chloride into concrete structures must be one dimension. In addition, the model predicts more reliable results for fly ash concrete than the cement concrete (without fly ash). en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account