กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/987
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญรัตน์ ประทุมชาติth
dc.contributor.authorพิชาญ สว่างวงศ์th
dc.contributor.authorJorge Machadoth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:57Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:57Z
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/987
dc.description.abstractนำปูทะเล (Scylla serrata) ขนาดความกว้างกระดองเฉลี่ย 71 มิลลิเมตร ระยะคราบแข็ง (stage C3) ปราศจากก้าม เลี้ยงในถังไฟเบอร์ขนาด 250 ลิตร ที่ระดับความเค็มน้ำ 5, 10,15, 20 และ 25 ppt (และเพิ่ม 30,35 และ 40 ppt สำหรับการศึกษาออสดมลาลิตี้) เป็นระยะเวลา 75 วัน เพื่อทำการตรวจสอบขบวนการลอกคราบ การรอดตาย และการเปลี่ยนแปลงทางสรีระเคมีของปูทะเล จากผลการทดลองพบว่า ความเค็มมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไกลโคสอะอะมิโนไกลแคน ออสโมลาลิตี้ คลอรีน โปแตสเซียม แมกนีเซียม แมงกานีส ทองแดง ซัลเฟอร์และแคลเซียม ไนพลาสมาปูทะเล โดยทั่วไปแล้วพบว่าความเข้มข้นเพิ่มสูงขึ้นตามความเค็มน้ำที่เพิ่มขึ้น (P<0.05) ยกเว้นฟอสฟอรัส โดยแมกนีเซียม ซัลฟอร์แมงกานีส ทองแดง และแคลเซียมจะมีค่าลดลงที่ความเค็มน้ำ 25 ppt ซึ่งการเพิ่มขึ้นของธาตุส่วนมากในเลือดตามความเค้มนั้นส่งผลให้ปริมาณธาตุที่พบในเปลือกเพิ่มอีกด้วย ยกเว้นทองแดง ปูที่เลี้ยงในความเค็มสูง (20-25 ppt) จึงเป็นความเค็มที่เหมาะสมเพื่อการสนับสนุนกลไกการสร้างเปลือกและเนื้อเยื่อของปูทะเล เห็นได้จากมีจำนวนปลอกคราบสูงสุด (100+-0%) (p< 0.05) ที่ความเค็มน้ำ 20 ppt ขณะที่ปูที่เลี้ยงในความเค็มน้ำ 5 ppt ใช้ระยะเวลาในการลอกคราบ (36+- 4 วัน) สั้นกว่าปูที่เลี้ยงในความเค็มน้ำ 25 ppt ผ47+-4 วัน) (p< 0.05) ซึ่งเป็นการสนับสนุนที่ว่าความเค็มน้ำที่ต่ำมีส่วนช่วยสนับสนุนการละลายเปลือกเก่าในปุชนิดนี้ อย่างไรก็ดี ขนาดปูหลังลอกคราบ และการตายของปูทะเลของการเลี้ยงทุกระดับความเค็มน้ำไม่พบความแตกต่างกัน (p<0.05)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectปูทะเล - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectปูทะเล - - วิจัยth_TH
dc.subjectปูทะเลth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleผลของความเค็มน้ำต่อขบวนการลอกคราบและการเปลี่ยนแปลงทางสรีรเคมีของปูทะเล (Scylla serrata)th_TH
dc.title.alternativeEffects of salinity on molting process and physicochemical changes in mud crab (scylla serrata)en
dc.typeResearch
dc.year2547
dc.description.abstractalternativeThe clawless intermolt (stage C3) crabs (scylla serrata) with 70 mm in carapace width were maintained in five salinity levels of 5, 10, 15, 20 and 25 ppt (including 30, 35 and 40 ppt for osmolality study) in 250 L fiberglass for 75 days. Molting process, survival rate and physicochemical changes of experimental crabs were investigated. Except for phosphorus, the increasing of concentrations of protein, carbohydrate, glycosaminoglycans, osmolality, sodium, chloride, potassium, magnesium, manganese, copper, sulfur and calcium in the plasms of S. serrata were significantly affevted by an increasing of the external salinity (P<0.05). This phenomenon contributed to the increasing of lelments in the cuticle except copper. However, the concentrations of magnesium, sulfur, manganese, copper and calcium significantly decreased (P<0.05) at 25 ppt. For S. serrata, biomineralization of cuticle and tissue was supported by the optimal salinity of 20-25 ppt. By the reason, the significant highest (P<0.05) number of peeler crabs found in 20 ppt. While the molting period of crab in 5 ppt medium (36+-4 days) was significantly (p<0.05) shorter than that of 25 ppt (47+-4 days). It suggests that the dissolution process in old cuticle of S. serrata should be supported by the lower salinity. However, size increment of peeler crab, % mortality was not significantly different among groups (P>0.05)en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
viewobj (7)2.52 MBUnknownดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น