กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/909
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรรนิภา ศิริเพิ่มพูล
dc.contributor.authorจงกลณี จงอร่ามเรือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:51Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:51Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/909
dc.description.abstractจากการทดสอบประสิทธิภาพของสารเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันในการยับยั้งเชื้อ Helicobacter pylori ด้วยวิธี agar dilution พบว่า เคอร์คูมินอยด์สามารถยับยั้งการเจริญของ H. pylori ทั้ง 5 isolates ซึ่งเป็นเชื้อที่ไวต่อยา amoxicillin erythromycin และ tetracycline ได้ โดยมี ค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งได้เท่ากันคือ 25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร เมื่อนำคูเคอร์คูมินอยด์ไปศึกษาประสิทธิภาพในการยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ urease พบว่าเคอร์คูมินอยด์ในปริมาณต่ำที่สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้นั้นสามารถยับยั้งกิจกรรมของเอนไซม์ urease จากเชื้อได้ และเมื่อนำสารเคอร์คูมินอยด์ไปทดสอบฤทธิ์รวมกับยา erythromycin และ tetracycline โดยวิธี agar chequerboard titration พบว่าฤทธิ์รวมระหว่างเคอร์คูมินอยด์กับ erythromycin และ tetracycline นั้นเป็นแบบไม่ต่างไปจากฤทธิ์เดิมของสาร (Indifference) ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ในการใช้เคอร์คูมินอยด์ร่วมกับ erythromycin และ tetracycline เพื่อรักษาโรคติดเชื้อ H.pylorith_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณแผ่นดิน 2551 ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการรักษาด้วยสมุนไพรth_TH
dc.subjectขมิ้นชันth_TH
dc.subjectสารเคอร์คูมินอยด์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleประสิทธิภาพของสารเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันในการยับยั้ง Helicobacter pylorith_TH
dc.title.alternativeAntimicrobial effect of curcuminoids from curcuma longal linn, on helicobacter pylorien
dc.typeResearch
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeAntimicrobial activity of curcuminoids from Curcuma longa Linn. against 5 isolates of H. pylori was determined by the standard agar dilution method. All isolates tested were susceptible to amoxicillin erythromycin and tetracycline by E-test method. The curcuminoids could inhibit growth of all isolates of H. pylori with a minimum inhibitory concentration (MTC) of 25ug/ml. Moreover, curcuminoids at the MIC level could exhibit inhibitory effect on urease activity. The combination of curcuminoids and erythromycin, studied with agar chequerboard titration, showed an indifference effect as well as the combination of curcuminoids and tetracycline. From the result of this study, it was suggested that the combination of curcuminoids and erythromycin or tetracycline could be beneficial for treatment of H. pylori infection.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น