กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/782
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกรองจันทร์ รัตนประดิษฐ์th
dc.contributor.authorสมจิตต์ ปาละกาศth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:09Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:09Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/782
dc.description.abstractในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ศึกษาสมบัติการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำคั้นจากผลเทียมมะม่วงหิมพานต์และสารสกัดจากน้ำคั้นผลเทียมมะม่วงหิมพานต์ด้วยตัวทำละลาย 3 ชนิด คือ เฮกเซน อทิลอะซิเตทและเอทานอล สำหรับการวิเคราะห์สมบัติการออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ประกอบด้วย การวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลลิกทั้งหมด การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 3 วิธี คือ วิธี 2,2-Diphenyl -1-picrylhdrazyl (DPPH) วิธี 3,4 -azino-bis (3-ethybenzothizoline-6-sulfonic acid) diammonium salt (ABTS) และวิธี Ferric reducing antioxidant power assay (FRAP) นอกจากนี้ ได้ตรวจสอบความสามารถในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนส พบว่า น้ำคั้นจากผลเทียมมะม่วงหิมพานต์ให้ค่าปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระที่ทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ สูงสุด โดยมีปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด เท่ากับ 4.52 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อมิลลิลิตรตัวอย่าง การออกฤทธิ์ด้านอนุมูลอิสระที่ วิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH คิดเป็น 4.14 มิลลิกรัมสมมูลของโทรลอกซ์ต่อมิลลิลิตรของตัวอย่าง ส่วนการทดสอบด้วยวิธี ABTS และวิธี FRAP ให้ค่าการออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ เท่ากับ 4.68 มิลลิกรัม สมมูลของกรดแอสคอบิกต่อมิลลิลิตรของตัวอย่าง และ 57.40 มิลลิกรัมสมมูลของเฟอร์รัสไอออนต่อมิลลิกรัมตัวอย่าง ตามลำดับ และเมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดและค่าการออกฤทธ์ด้านอนมูลอิสระของสารสกัดจากน้ำคั้นมะม่วงหิมพานต์ที่สกัดด้วยตัวทำละลายทุกชนิด พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งในทางสถิติ สำหรับการออกฤทธิ์ด้านเอนไซม์ไทโรซินเนส พบว่า น้ำคั้นจากผลมะม่วงหิมพานต์ให้ค่าสูงกว่าสารสกัดเช่นเดียวกันth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้สนับสนุนโดย สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำมะม่วงหิมพานต์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectสารต้านอนุมุลอิสระth_TH
dc.subjectอนุมูลอิสระth_TH
dc.titleสมบัติการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากน้ำมะม่วงหิมพานต์th_TH
dc.title.alternativeBioactive properties of cashew applejuice extractsen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeIn the present work, bioactive activities of cashew apple juice and its extract have been investigated. Three solvents were used including hexane, ethylacetate and ethanol. Bioactivity indices comprising of the total phenolic content, antiradicals and antityrosinase have been examined. three methods of antiradicals including DPPH assay and FRAB assay have been conducted. The result revealed that cashew apple juice exhibited highest phonolic content and antiradical activities. Total phenolic content of 4.52 mg gallic acid equivalence/ml of sample was found. DPPH antiradical of 4.14 mg trolox equivalence/ml of sample was odserved whereas antiradical activities obtained from ABTS assay and FRAB assay were 4.68 mg ascorbic acid equivalence/ml of sample and 57.40 mg ferrous ions equivalence/ml of sample, respectively. All of mentioned values were difference with highly statistical signficant in comparing with those observed from cashew apple juice extracts. Furthermore, antityrosinase activity of cashew apple juice was also higher than that of cashew apple juice extracts of all solvents.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น