กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/776
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/776
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน การศึกษาส่วนที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติการอนุรักษ์ป่าชายเลนของประชาชนบริเวณป่าชายเลนสนามไชย อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนธันวาคม-มีนาคม 2554 จำนวน 203 คน ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณาและการวิเคราะห์ความถดถอยแบบลอจิสติก ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุ 40 ปีขึ้นไป มีรายได้ต่ำกว่า 10,000 บาทต่อเดือน ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ทัศนคติเกี่ยวกับป่ายเลนของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าป่าชายเลนมีความสำคัญต่อชีวิต เพราะเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งอาหาร เป็นแหล่งรักษาความสมดุลของระบบนิเวศชายฝั่ง ผู้ตอบแบบสอบถามได้รับข่าวสารในการอนุรักษ์ป่าชายเลน จากกลุ่มเพื่อน ผู้ตอบแบบสอบถามต่อสภาพชายเลนสนามไชยพบว่าป่าชายเลนมีพื้นที่ลดลง แต่ยังคงความอุดมสมบูณ์ ควรมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ แนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชายเลน ควรส่งเสริมการนำปรัชญาการดำเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนสนามไชย การศึกษาส่วนที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาชนิด ปริมาณและการกระจายของสัตว์หน้าดิน บริเวณป่าชายเลนสนามไชย อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี ได้ดำเนินการศึกษาในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2552 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2553 ในป่าชายเลน 3 ปรเภท คือ ป่าชายเลนปลูก 13 ปี ป่าชายเลนธรรมชาติ และป่าชายเลนเสื่อมโทรม โดยทำการเก็บตัวอย่าง 3 เดือนต่อหนึ่งครั้ง พบสัตว์หน้าดินทั้งหมด 3 ไฟลัม ได้แก่ ไฟลัม Annelida จำนวน 3 วงศ์ คือ Capitellidae, Nereidae, Eunicidae,ไฟลัม Mollusca จำนวน 5 วงศ์ คือ Assimineidae, Potamididae, Ellobiidae, Onchiisae, Pharidae, และไฟลัม Arthpopda จำนวน 6 วงศ์ คือ Tanaidae, Varunidae, Sesarmidae, Aoridae, Tabanidae, Melitidae และ 1 ชนิดไม่สามารถจำแนกได้ ซึ่งพื้นที่บริเวณป่าชายเลนปลูก 13 ปี พบสัตว์หน้าดินในไฟลัม Annelida เป็นชนิดเด่น ในขณะที่พื้นที่บริเวณป่าชายเลนธรรมชาติและป่าชายเลนเสื่อมโทรมพบสัตว์หน้าดินไฟลัม Mollusca เป็นชนิดเด่น บริเวณที่มีมวลชีวภาพเฉลี่ยของสัตว์หน้าดินสูงสุด คือ ป่าชายเลนธรรมชาติ สำหรับจำนวนชนิดที่พบรวม ดัชนีความหลากหลายและดัชนีความสม่ำเสมอมีค่าสูงสุดบริเวณป่าชายเลนปลูก 13 ปีth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมth_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพth_TH
dc.subjectป่าชายเลนth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประเมินศักยภาพการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการป่าชายเลนสนามไชย จังหวัดจันทบุรี ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง และการประเมินความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of community participation in management of Sanamchai mangrove at Chanthaburi Province follow the sufficiency economy and the assessment of biodiversity for sustainable developmenten
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThis study had been divide into 2 section. The objective of the first section was to evaluate the attitude of mangrove conservation at Sanam Chai,NaYai Am, Chanthaburi Province. TWo hundred and three data werw collected using questionnaire during February-MArch,2011. The collected data wewe analyzed by descriptive statistics and logistic regession less than 10,000 bath permonth,career as general employee and social status as people. The attitude of their persented that mangrove had important for life bacause mangrove as the palce of biodiversity collecting,place of food source and place pf control balance of coaatal ecosystem. The most of respondent received conservative information form friend and neighborhood. They had participation of mangrove conservation regularly by rehabilitation. The conclusion of mangrove conservative attitude revealed that Sanam Chai mangrove area had decreased area from the past but still plentiful place. They suggested that it should have government sector to educate local people on mangrove conservation. The approach to promote the mangrove conservation should encourage the sufficience economic to apply for mission. The objective of the second section was to study species quantity and distribution of benthos ar Sanamchai mangrove, Chanthaburi Province was studied during November 2009 to November 2010. Benthos in three different study areas including of 13 year rehabilitation,natural and abundon mangrove forest was monitored by samping every 3 months. Pesult of the study found benthos 3 phylums 15 famlies composed og phylum Annilida including of Capitellidae,Nereidae,Eunicidae,phylum Mollusca including of Assimineidae,Potamididae,Ellobiidae,Onchiisae,Pharidae,and phylum Arthpopda including of Tanaidae Varunidae,Sesarmidae,Aoridae,Tabanidae,Melitidae and Unidentified. phylum Annelida was the highest density in 13 year rehabilitation mangrove and phylum Mollusca was the highest density in abandon mangrove and natural mangrove. The highest of biomass was found on natural mangrove. However, the thierteen year old rehabilitation mangrove had the greatest of biodiversity index.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น