กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/768
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกาญจนา หริ่มเพ็งth
dc.contributor.authorเอกรัฐ ศรีสุขth
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.authorสมสุข มัจฉาชีพth
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.available2019-03-25T08:53:08Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/768
dc.description.abstractจากการทดสอบฤทธิ์เบื้องต้นในการยับยั้งการเจริญของ S.aureus ATCC 25923 S.aureus ATCC 43300 ด้วยวิธี disk diffusion ของส่วนสกัดเอธานอลของพืชชนิดต่างๆจำนวน 20 ชนิด พบว่ามีส่วนสกัดเอธานอลของพืชจำนวน 14 ชนิด แสดงฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย ทดสอบทั้งสองสายพันธุ์ MSSA และ MRSA ได้แก่ ใบมะม่วงหิมพานต์ ใบฝาดดอกขาว ใบโปรงขาว ใบและดอกเล็กมือนาง ใบโปรงแดง ใบพังกาหัวสุมดอกขาว ใบพลูคาว ใบลำพูทะเล เหง้ากระทือ เหง้ากระชายดำ เหง้าขิงแม่โขง เหง้าว่านริดสีดวง และเหง้าว่านสาวหลง ต่อจากนั้นคณะผู้วิจัยได้คัดเลือกส่วนสกัดเอธานอลอของพืชสองชนิดจากวงศ์ Zingiberaceae ได้แก่ ขิงแม่โขง และว่านริดสีดวง มาสกัดซ้ำด้วยตัวทำละลายเฮกเซน เอธิลอะซิเตท และน้ำตามลพดับ และนำมาทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรียทดสอบดังกล่างด้วยวิธี disk diffusion พบว่า ส่วนสกัดย่อยเอทิลอะซิเตทของขิงแม่โขงและส่วนสกัดย่อยเฮกเซนของว่านริดสีดวง มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ดีที่สุด เมื่อนำส่วนสกัดย่อยเอทิลอะซิเตทของขิงแม่โขงและส่วนสกัดย่อยเฮกเซนของว่านริดสีดวงมาหาค่า MIC ในการยับยั้งการเจริญของ S.aureus สายพันธุ์ที่ดื้อยา methicillin (MRSA) ที่แยกได้จากสิ่งส่งตรวจของผู้ป่วยจำนวน 24 ไอโซเลท ด้วยวิธี agar dilution พบว่า ค่า MIC50 ของส่วนสกัดย่อย เอทิลอะซิเตท และส่วนสกัดย่อยเฮกเซนของขิงแม่โขงมีค่าอยู่ระหว่าง 62.5-125 μg/mL และ 250-500 μg/mL ตามลำดับรายงานวิจัยนี้เป็นรายงานครั้งแรกของฤทธิ์ต้านจุลชีพของส่วนสกัดจากขิงแม่โขงและว่านริดสีดวง ซึ่งข้อมูลที่ได้แสดงให้เห็นว่า ส่วนสกัดจากพืชเหล่านี้น่าจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนายารักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ MRSA ที่มีคุณสมบัติดื้อยาปฏิชีวนะหลายขนานต่อไปในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณแผ่นดิน 2551 ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.subjectสมุนไพร - - ไทย (ภาคตะวันนออก)th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectแบคทีเรียth_TH
dc.titleฤทธิ์ต้านจุลชีพของสมุนไพรในการต้าน/ ฆ่าแบคทีเรียก่อโรคที่ดื้อยาปฏิชีวนะหลายขนานth_TH
dc.title.alternativeAnti-microbial activity of medicinal plants against multi-drug resistant pathogenic bacteriath_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeAntibacterial activity against S.aureus ATCC 25923 and S.aureus ATCC 43300 of 20 ethanol extracts, 14 demonstrated the activity against both tested bacteria including the extracts from Ancardium occidentale (leave), Lumnitzera racemosa (leave), Quisqualis indica Linn. (leave), Ceriops decandra Ding Hou (leave), Ceriops tagal (Perr.) C.B. Rob (leave), Bruguiera sexangula Poir(leave), Houttuynia cordata Thunb (leave), Sonneratia alba J. Smith (leave), QuisQualis indica Linn (flower), Zingiber Zerumbet Smith (rhizomes), Kaempferia parvflora (rhizomes), Zingiber mekongense Gagnep (rhizomes), Curcumar sp. (rhizomes), and Amomum biflorum Jack (rhizomes). Then, the ethanol extracts from rhizomes of Zingiber mekongense Gagnep and Curcuma sp. were selected for further investigation. Both ethanol extracts were partitioned with hexane, ethyl acetate, and water respectivety. The antibacyeria activity of hexene, ethly acetate and water sub-fractions from both plants were tested against S. aureus ATCC 25923 and S.aureus ATCC 43300 though disk diffusion method. It was found that the ethyl acetate sub-fractions from rhizomes of Zingiber mekongense Gagnep and the hexene sub-fractions from rhizomes of Curcumar sp. posses the most potent antibacterial activity. Hence, the minimum inhibitory concentration (MIC) of both sub-fractions against 24 clinical isolate of multi-drug resistant MRSA was investigated via ager dilution method. The results revesled the potent anti-MRSA activity of both sub-fractions against all isolates of tested bacteria with the MIC50 value of 62.5-125 μg/mL and 250-500 μg/mL for the ethyl acetate sub-fraction from Zingber mekongense Gagnep and the hexene sub-fragtion from Curcuma sp., respectively. Notably, this is the first report of the antimicrobial activity of the extracts from Zingiber mekongense Gagnep and Curcuma sp. (wan rid-si-duang, in thai). On the basis of these data presented, these plant extracts may be useful for the development of therapeutic treatments of multidrug-resistant MRSA infections in futureen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น