กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/602
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.authorมนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:52:00Z
dc.date.available2019-03-25T08:52:00Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/602
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา และศึกษาความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติในการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้ การวิจัย เชิงคุณภาพเพื่อค้นหาปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณใช้เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพจากนิสิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2548 ในมหาวิทยาลัยของรัฐจำนวน 850 คน เครื่องมือที่ใช่ในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์แนวคำถามปลายเปิด ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for window หาค่าสถิติพื้นฐาน และการวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่ เทคนิคการสอน บรรยากาศในการเรียน การสอน เจคติในการเรียน สื่อและเทคโนโลยีการสอน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในภาควิชา และความสัมพันธ์กับเพื่อน ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาที่ระดับนัยสำคัญ .05 ได้แก่ เจตคติในการเรียน เทคนิคการสอนของอาจารย์ บรรยากาศในการเรียนการสอน สื่อ และเทคโนโลยีการสอน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในภาควิชา สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียน และความสัมพันธ์กับเพื่อน โดยมีค่าอิทธิพลเท่ากับ .306, .303, .259., .207., 117., .113 และ .105 ตามลำดับ รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สามารถอธิบายความสัมพันธ์ ได้ร้อยละ 15th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2549en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการเรียนรู้ - - องค์ประกอบth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - - องค์ประกอบ - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleองค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เป็นสาเหตุต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาth_TH
dc.typeResearch
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the causal factors relate to the learning environment and the academic achievement of educational technology students, (2) to explore the causal relationship between factors relate to the learning environment and the academic achievement of educational technology students. The sample group consist of 850 students from the department of educational technology in public universities. The instruments use for collecting data were (1) a interview form (2) a questionnaire consisting of 5 point rating scale. Then the data was analyzed using SPSS for windows to determine the mean, standard deviation, simple correlation and path analysis. The research result showed the following: (1) the causal factors relate to the learning environment that were rate on average at a high level involved the teaching technique, the learning environment and attitude towards learning. (2) the causal relationship between factor related to The learning environment and the academic achievement was at a level of statistical environment of .05 Factors relate to the learning environment affecting academic achievement, included attitude towards learning, teaching technique, learning environment, teaching aids, department’s Environment, classroom environment and peer relationships possessed a total influence value of .306, .303, .259, .117, .105 respectively. The causal relationship model of factors relate to the learning environment influencing academic achievement could explain and predict the relationship of whole system with a level of accuracy of 51 percent.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น