กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/544
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุวรรณา ภาณุตระกูลth
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะth
dc.contributor.authorไพฑูรย์ มกกงไผ่th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:56Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:56Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/544
dc.description.abstractการศึกษาพฤติกรรมของโลหะ Cd, Cu, Fe, Mn, Ni, Pb และ Zn ในแม่น้ำบางปะกงในฤดูแล้ง (มีนาคม 2543) และฤดูฝน (กรกฎาคม 2543) พบว่าทั้งสองฤดูโลหะทุกตัวมีพฤติกรรมแบบไม่อนุรักษ์ โดยมีค่า KD ของโลหะที่ทำการศึกษาในครั้งนี้มีลำดับดังนี้ Fe > Mn > Pb > Zn > Ni > Cu > Cd ในฤดูแล้ง และ Fe > Mn > Pb > Zn > Pb > Ni > Cu > Cd ในฤดูฝน พฤติกรรมการแพร่กระจายของโลหะหนักในแม่น้ำบางปะกงถูกควบคุมโดยการชะล้างโลหะจากแผ่นดิน ลักษณะทางอุทกวิทยาปริมาณน้ำท่า การขึ้นลงของน้ำทะเล และการตกตะกอนร่วมของโลหะอื่น ๆ กับ Fe-Mn-Oxides และ Fe-Mn-Carbonate อย่างไรก็ตามขบวนการทางชีวภาพก็มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของแคดเมียม ระดับความเข้มข้นของโลหะหนักที่ตรวจพบได้ในการศึกษาครั้งนี้ ยังอยู่ในมาตรฐานคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 ของไทย แต่มีแนวโน้นที่มีการปนเปื้อนในระดับที่สูงขึ้นของโละหะ Cd, Cu, Ni, Pb และ Zn จากเดิมที่เคยมีการศึกษามา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะกอนแขวนลอยที่บริเวณปากแม่น้ำ ซึ่งน่าจะมีสาเหตุจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีอยู่มากบริเวณปากแม่น้ำ มากกว่า 70% โละหะหนักทุกตัวที่ทำการศึกษาในครั้งนี้อยู่ในรูปของตะกอนแขวนลอยยกเว้นแคดเมียม ซึ่งมีค่าประมาณ 40 % ดังนั้นรูปแบบที่สำคัญของโลหะที่มีการขนถ่ายจากแม่น้ำบางปะกงออกสู่อ่าวไทยจึงอยู่ในรูปของตะกอนแขวนลอยth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2543 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectมลพิษทางน้ำth_TH
dc.subjectโลหะหนักth_TH
dc.subjectแม่น้ำบางปะกงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleพฤติกรรมของโลหะหนักบางชนิดบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงth_TH
dc.title.alternativeBehaviour of some heavy metals in Bangpakong River estuaryen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2544
dc.description.abstractalternativeBehaviour of Cd, Cu, Ni, Pb, Zn, Fe and Mn was studied in the dry (March 2000) and wet (July 2000) seasons. All of the heavy metals showed non-conservative behaviour in both seasons. The distribution coefficient (KD) followed Fe > Mn > Pb > Zn > Ni > Cu > Cd sequence in the dry season and Fe > Mn > Pb > Zn > Pb > Ni > Cu > Cd in the wet season. Terrestrial erosion, the river hydrodynamic (Discharge, tidal action and water residence time) co-precipitation of heavy metals with Fe-Mn-Oxides and Fe-Mn-Carbonate were the major processes controlling behaviour of heavy metals in the river. However, biological processes played an important role on behaviour of Cd. The present contamination levels were higher than previous studies especially Cd, Cu, Ni, Pb and Zn in suspended solid at the river mouth. This may cause by industrial activities, which are rather high around the river mouth. The concentration of all the studied heavy metals were still lower than the water quality criteria and standard in Thailand (surface water type 3). More than 70% of all the studies metals presented in particulate form except Cd which presented only40 % in particulate form. Therefore the major part of heavy metals from the Bangpakong river transported to the Gulf of Thailand were in particulate form.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น