กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4610
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภุมเรศ จันทร์สว่าง
dc.contributor.authorบรรพต วิรุณราช
dc.date.accessioned2022-08-02T08:42:21Z
dc.date.available2022-08-02T08:42:21Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.issn1906-506X
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4610
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาเพื่อศึกษาและวิเคราะห์การเกิดผลกระทบรวมถึงขั้นตอนในการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ภาคตะวันออก ซึ่งเป็นการทำวิจัยแบบผสมผสาน โดยการการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เกษตรสวนยางพาราภาคตะวันออกผู้ประกอบการและนักวิชาการ ซึ่งนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเกษตรกรผู้เพาะปลูกยางพารา จำนวน 400 คน ผลการวิจยัพบว่า ปัจจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่าเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ภาคตะวันออกที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนี้ด้านผลผลิตและการดำเนินการกระบวนการตัดสินใจเกิดผลกระทบทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง ในเรื่องของการเพาะปลูกและการผลิตเพื่อแปรรูปต่าง ๆ ด้านการ ออกแบบระบบสังคมและเทคนิคส่งผลกระทบต่อการเสริมสร้างทักษะและเทคนิคของเกษตรกรในการทำเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าได้ดียิ่งขึ้น ด้านพฤติกรรมกลุ่มและทีม ส่งผลทำให้เกิดพฤติกรรมการปรับตัวในการทำงาน ด้านประสบการณ์ของผู้จัดการและประวัติองค์กร เกิดผลกระทบในเรื่องของการสร้างแรงบันดาลใจ เมื่อเห็นผู้ที่ทำการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีด้านกระบวนการตัดสินใจส่งผลให้สามารถแจกแจงปัญหาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีได้ด้านเทคนิคการจัดการวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนในเรื่องของทักษะเทคนิควิธีการต่าง ๆ ด้านระบบการเงิน ส่งผลให้เกิดการสนับสนุนการลงทุน ในเรื่องของการจัดสรรเงินลงทุนทางด้านนวัตกรรมเทคโนโลยี ด้านกิจกรรมวิศวกรรม ส่งผลในเรื่องของการประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรก่อนและ หลังการเข้าร่วมโครงการth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีการเกษตรth_TH
dc.subjectนวัตกรรมทางเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectสวนยางth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมยางพาราth_TH
dc.titleการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสำหรับเกษตรกรสวนยางแปลงใหญ่ภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeManagement of innovation and technology for collabolative faming in the eastern regionen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume13th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study and analyze the impact, including steps in anaging innovation and technology for large-scale rubber plantation farmers in the eastern region. This research is integrated research, which done by collecting qualitative data on eastern rubber plantation, agriculture entrepreneurs, and scholars. The data obtained is used for content analysis. The quantitative data is collected from the sample of are 400 rubber farmers. The results of the research showed that. The Innovative and technological factors affect the value-added of large-sized rubber farmers in the eastern region at the significant level of 0.05. In terms of production and decision-making processes, resulting in lower production costs. The Social system and technical design help improving farmers' skills and techniques that result in valueadded. The group and team behavior result in behavior adjustment in the workplace. The manager experience and organizational history affect motivation when seeing people using technology innovation. The decision process results in problems solving on the use of technology. The technical management science resulting in a step-by-step learning process for skills, techniques, and methods. The financial system results in investment support regarding the allocation of investments. The technology innovation engineering activities result in the satisfaction assessment of farmers before and after participating in the project.en
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and lawth_TH
dc.page122-137.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
politic13n3p122-137.pdf528.34 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น