กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4502
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorดำรงพล แสงมณี
dc.contributor.authorญาเรศ อัครพัฒนานุกูล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2022-07-02T09:42:48Z
dc.date.available2022-07-02T09:42:48Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4502
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ระดับความรุนแรงของความขัดแย้งภายในรัฐ ใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2561 โดยการวิเคราะห์ผ่านการประยุกต์ใช้แบบจำลอง VAR โดยงานวิจัยในครั้งนี้กำหนดตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น คือ บริบททางสังคมเศรษฐกิจ และประชากรศาสตร์การเมือง และตัวแปรตาม คือ ระดับความรุนแรงจากความขัดแย้งภายในรัฐ ผลการศึกษาพบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ดังกล่าว โดยบริบททางสังคมเศรษฐกิจ และประชากรศาสตร์การเมือง เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดความขัดแย้งภายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้นอกจากนี้ การศึกษาผ่านแบบจำลอง VAR ซึ่งมักจะถูกใช้อย่างแพร่หลายในแวดวงทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ยังให้ประโยชน์ในการเป็นเครื่องมือคำนวนข้อมูลขนาดใหญ่ที่น่าเชื่อถือ และสร้างทางเลือกใหม่ให้กับการศึกษาทางรัฐศาสตร์เช่นกันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการก่อความไม่สงบ -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectความขัดแย้งทางการเมืองth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยโดยแบบจำลองวีเออาร์th_TH
dc.title.alternativeAn analysis of insurgency in three southern provinces of Thailand by using VAR Modelen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume9th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to analyze the level of violence from intrastate conflict in three southern provinces of Thailand – Pattani province, Yala province and Narathiwat province - during 2010 – 2018 by applying VAR Model. The research addresses two groups of variables including independent and dependent variables, employing the socio-economic conditions and political demographic structures as independent variables and the numbers of violence from intrastate conflict as a dependent variable. The research found the relationship amongst these variables. That is to say, the socio-economic and political demographic conditions are sufficient to play a role as factors that trigger the intrastate conflict in these three southern provinces. In addition, the practice of VAR model, which is previously used in the field of computer science, sheds light on the analytical reliability of big data and provides an alternative way to the study of politics in this study.en
dc.journalวารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพาth_TH
dc.page39-57.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
bpe9n2p39-57.pdf1.19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น