กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/437
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนฤมล ปทุมารักษ์th
dc.contributor.authorกนกนุช ชื่นเลิศสกุลth
dc.contributor.authorเรณา พงษ์เรืองพันธุ์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/437
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดระหว่างวิธีทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ และพันผ้าปราศจากเชื้อกับวิธีที่ไม่ทาน้ำยาฆ่าเชื้อ และไม่พันผ้าปราศจากเชื้อ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องและอุ้งเชิงกรานทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งเข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยบรมราชเทวี 1 และ 3 โรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา จำนวน 80 คนโยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสองกลุ่มด้วยวิธีจับฉลาก คือกลุ่มควบคุม 40 คน เป็นกลุ่มที่ได้รับการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดวิธีทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อพันผ้าปราศจากเชื้อและกลุ่มทดลอง 40 คน เป็นกลุ่มที่ได้รับการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดวิธีที่ไม่ทาน้ำยาฆ่าเชื้อ และไม่พันผ้าปราศจากเชื้อ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูลการเตรียมผิวหนังและผลการเพาะเชื้อ ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อุปกรณ์ในการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด และอุปกรณ์ในการเก็บเพาะเชื้อ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยติดตามผลการเพาะเชื้อที่ผิวหนังภายหลังการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดที่หอผู้ป่วย และในห้องผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Fisher’s exact test ผลการวิจัยพบว่า ผลของการพบเชื้อที่ผิวหนังภายหลังการเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัด ระหว่างวิธีทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและพันผ้าปราศจากเชื้อกับวิธีไม่ทาน้ำยา ฆ่าเชื้อและไม่พันผ้าปราศจากเชื้อ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนะยสำคัญที่ระดับ .05 Abstract The Purpose of this study was to compare the organism growth from skin culture in preoperative skin preparation methods using and using an antiseptic solution followed by sterile cloth drapes. The quasi – experimental study was conducted in Somdet Na Sriracha Hopital. The samples were 80 adult patients who prepared for operation in the area of abdomen and pelvic cavity. The samples wer devided into two groups. Controlled group composed of 40 patients who were using an antiseptic followed by sterile cloth drapes for preoperative skin preparation and the experimental group composed of 40 patients who were not using an antiseptic solution followed by sterile cloth drapes for preperative skin preparation. The data were collected by swabbing the skin at operative site areas. The data were analyzed by using percentage, arithmetic means, standard deviation and Fisher’s exact test. This study found that there was no significant difference in organism growth from skin culture between two methods of preoperative skin preparation at .05 level.th_TH
dc.description.sponsorshipสนับสนุนทุนโดยงบประมาณเงินรายได้จากมหาวิทยาลัยประจำปีงบประมาณ 2533en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพันผ้าth_TH
dc.subjectผิวหนังth_TH
dc.subjectศัลยกรรมth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleเปรียบเทียบผลการของเตรียมผิวหนังก่อนผ่าตัดระหว่างวิธีทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและพันผ้าปราศจากเชื้อกับวิธีที่ไม่ทาด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและไม่พันผ้าปราศจากเชื้อth_TH
dc.title.alternativeA comparison of preoperative skin preparation methods between using and non suing an antiseptic solution Followed by sterile cloth drapesth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2533
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_046.pdf4.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น