กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4358
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวราวุฒิ เกรียงบูรพา
dc.contributor.authorเบญจารัตน์ ทรรทรานนท์
dc.contributor.authorนลินี ภัทรากรกุล
dc.contributor.authorศุภมาศ ศุภบรรพต
dc.contributor.authorวิชชุวรรณ อ่อนสร้อย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2022-05-21T14:32:28Z
dc.date.available2022-05-21T14:32:28Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4358
dc.descriptionงานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจ่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563th_TH
dc.description.abstractที่มาของปัญหา: การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างยังคงเป็นสาเหตุส่าคัญของการเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี การรักษาด้วยออกซิเจนหลากหลายรูปแบบใช้ในการรักษาผู้ป่วยเด็กติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างที มีภาวะหายใจล่าบาก การรักษาด้วยออกซิเจนอัตราการไหลสูง (high-flow nasal cannula) มีการใช้มากขึ้นในภาวะหายใจล่าบากจากสาเหตุต่าง ๆ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และผลลัพธ์จากการรักษาด้วย high-flow nasal cannula (HFNC) กับการให้ออกซิเจนแบบดั้งเดิม (conventional oxygen therapy, COT) ในผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง วัสดุและวิธีการ: การศึกษานี้เป็นการวิจัยการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (prospective randomized controlled trial) ในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี ที ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง ซึ่งรับไว้รักษาในโรงพยาบาลระหว่างวันที่ 15 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 15 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2564 โดยเปรียบเทียบข้อมูลของประชากรที่ศึกษา ลักษณะทางคลินิก Clinical respiratory score การตรวจภาพรังสีทรวงอก และผลลัพธ์จากการรักษาในโรงพยาบาล (การรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล และการเสียชีวิต) ระหว่างกลุ่มที่ ใช้ HFNC กับกลุ่มที่ใช้ COT ผลการศึกษา: ในการศึกษานี้มีผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 27 ราย กลุ่มที ใช้ HFNC (จำนวน 9 ราย) ช่วยลดความรุนแรงของลักษณะทางคลินิกของระบบหายใจ (clinical respiratory score) ได้มากกว่าในกลุ่มที่ใช้ COT (จำนวน 18 ราย) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ภายหลังให้การรักษาที่เวลา 30 นาที (1.1±1.8 vs -0.2±0.6 คะแนน; p = 0.022) และที่เวลา 1 ชั วโมง (1.6±1.7 vs 0.3±1.1 คะแนน; p = 0.037) 8 ชั่วโมง (2.4±1.5 vs 1.3±0.9 คะแนน; p = 0.018) 12 ชั่วโมง (2.7±1.5 vs 1.3±0.9 คะแนน; p = 0.010) และที่ เวลา 48 ชั่วโมง (2.8±1.4 vs 1.7±1.2 คะแนน; p = 0.045) ผลลัพธ์จากการรักษาในโรงพยาบาลไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญระหว่างทั้งสองกลุ่ม สรุป: การใช้ HFNC อาจมีข้อดีมากกว่าในการช่วยลดความรุนแรงของลักษณะทางคลินิกของระบบหายใจ (clinical respiratory score) ในเด็กที่ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างเมื่อเทียบกับการใช้ COT ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (prospective randomized controlled trial) ซึ่งมีจำนวนกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ เพื่อพิสูจน์สิ่งที่พบในการศึกษานี้th_TH
dc.description.sponsorshipคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectทางเดินหายใจ - - โรคth_TH
dc.subjectโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงth_TH
dc.titleการใช้ high-flow nasal cannula เปรียบเทียบกับการใช้ conventional oxygen therapy ในการรักษาเด็กที่ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างth_TH
dc.title.alternativeComparison between High-flow Nasal Cannula and Conventional Oxygen Therapy in Children with Lower Respiratory Tract Infectionsen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwarawutk@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailbenjarat@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailNalinee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsupamass@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailphatsakorn1234567890@gmail.comth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Lower respiratory tract infections are the leading cause of death among children less than five years of age. Various forms of oxygen therapy have been used to treat children with lower respiratory tract infections who have respiratory distress. Hence, high-flow nasal cannula (HFNC) therapy has been increasingly used in children with various etiologies of respiratory distress. Objectives: The aim of this study was to compare the efficiency, safety, and outcomes of the high-flow nasal cannula and conventional oxygen therapy (COT) in children with lower respiratory tract infections. Materials and Methods: This study was a prospective randomized controlled trial in children aged six months to five years admitted with lower respiratory tract infections between March 15, 2020 and August 15, 2021. Demographic data, clinical characteristics, clinical respiratory score, chest X-ray, and outcomes during hospitalization (treatment with mechanical ventilation, length of hospital stay, and death) were compared between the HFNC and COT groups. Results: A total of 27 patients were enrolled. The HFNC group (n = 9) had a significantly reduced clinical respiratory score more than the COT group (n = 18) at 30 minutes (1.1±1.8 vs -0.2±0.6 points; p = 0.022) and at one hour (1.6±1.7 vs 0.3±1.1 points; p = 0.037), eight hours (2.4±1.5 vs 1.3±0.9 points; p = 0.018), 12 hours (2.7±1.5 vs 1.3±0.9 points; p = 0.010) and 48 hours (2.8±1.4 vs 1.7±1.2 points; p = 0.045) after treatment. Moreover, the outcomes during hospitalization were not significantly different between the groups. Conclusions: The use of HFNC may have more advantages to reduce the clinical respiratory score in children who have lower respiratory tract infections compared with COT. Therefore, large-scale randomized controlled trials would be necessary to prove the findings.en
dc.keywordสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_177.pdf541.52 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น