กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4275
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรณชัย รัตนเศรษฐ
dc.date.accessioned2021-07-04T08:05:18Z
dc.date.available2021-07-04T08:05:18Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4275
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพทางด้านดนตรีวิทยา มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมดนตรีกับ วิถีชีวิตชุมชนในท้องถิ่นภาคตะวันออก : กรณีศึกษาเพลงรำสวด คณะอเนก สารเนตร จังหวัดตราด ผลการศึกษาพบว่า ในด้านประวัติความเป็นมาของการเล่นเพลงรำสวด คณะอเนก สารเนตร จังหวัดตราด นายอเนก สารเนตร ได้เริ่มหัดเล่นเพลงรำสวดอย่างประมาณปี พ.ศ. 2503 โดยเริ่มจากการเล่นเพลงรำสวดแบบดั้งเดิม คือ การใช้เนื้อหาจากบทสวดพระมาลัย ต่อมาจึงประยุกต์นำเนื้อเรื่องจากนิทานในวรรณคดีมาเป็นบทร้อง เรียกว่าการเล่นรำสวดแบบประยุกต์ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญ ได้แก่ กลอง (ทำหน้าที่บรรเลงหลัก) ฉิ่ง และกรับ โดยผู้ที่บรรเลงดนตรีจะทำหน้าที่ร้องรับเป็นลูกคู่ประกอบการร้องไปด้วยในขณะแสดงรูปแบบอัตลักษณ์ในการแสดงจะเริ่มจากร้องบทไหว้พระพุทธ พระธรรมจบแล้วนั้น ก็จะย้อนกลับไปร้องสร้อยและร้องบทไหว้ครู ไหว้บิดร มารดา และจบด้วยบทสั่งเปรต หลังจากนั้นก็จะเป็นการร้องดำเนินเรื่อง โดยใช้เรื่องในวรรณคดีเป็นหลัก ลักษณะสำคัญของการแสดงรำสวดคณะอเนก สารเนตร เป็นการเล่นรำสวดแบบประยุกต์ที่จะนำนิทานในวรรณคดีมาเล่นเป็นเรื่องราว ทำให้ผู้ที่มาร่วมงานศพ ได้รับความเพลิดเพลินมากขึ้นถือเป็นแบบฉบับของคณะ มิได้มีการร้องเพลงลูกทุ่งหรือเพลงสมัยนิยม ทำให้ยังคงเอกลักษณ์หรือลักษณะเพลงพื้นบ้าน ที่เป็นคุณค่าของงานวัฒนธรรมเพลงดนตรีที่สำคัญ ที่ควรบันทึกและอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่ต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเพลงพื้นเมือง -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.subjectดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.subjectความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.subjectตราด -- ความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleวัฒนธรรมดนตรีกับวิถีชีวิตในท้องถิ่นภาคตะวันออก : กรณีศึกษาเพลงรำสวด คณะอเนก สารเนตร จังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeThe culture of music and indigenous living in eastern region: A case study of Rum Suad, Anek Sarnnetra troupe, Trat provinceen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume6th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this qualitative research in musicological aspect was to study the Culture of Music and Indigenous living in eastern region: A Case study of Rum Suad, Anek Sarnnetra troupe, Trat Province. The results revealed that in the history of Rum Suad, Anek Sarnnetra troupe, Trat Province, Mr. Anek Sarnnetra had begun to perform Rum Suad in 2503. He started from conservative Rum Suad which used the content of Pra Malai chanting. Then, the contents of old folk were applied to be lyrics, called modified Rum Suad. The important instruments were drums (major instrument), cymbals and grabs. The musicians would sing as a chorus during performing. The identical pattern of the performance begins with the scripture to pay respect to the Buddha, the Buddha’s teachings, back to chorus (Rong soi), pay respect teacher, parents and ends with “Sung Pert” song. After that, the song would be continued by using the folk. The major characteristics of the performance of Rum Suad, Anek Sarnnetra troupe was a modified Rum Suad which applied the folk to entertain people who participated in the funeral. This was the original of this troupe, did not use Thai folk song or modern song. These identity and values of the culture of music should be preserved continually.th_TH
dc.journalวารสารดนตรีและการแสดงth_TH
dc.page17-28.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
mupa6n1p17-28.pdf793.79 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น