กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4201
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิต โตอดิเทพย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-20T12:14:33Z
dc.date.available2021-06-20T12:14:33Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4201
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุในระดับท้องถิ่น การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า กลไกของการพัฒนาผู้สูงอายุขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ใช้เครือข่ายของชมรมผู้สูงอายุในการขับเคลื่อนโครงการและกิจกรรม ลักษณะของ การดำเนินกิจกรรมจะเป็นการสร้างองค์ความรู้เพื่อการดูแลตนเอง กลไกหลัก เพื่อการพัฒนาดูแลผู้สูงอายุเกิดขึ้นระดับพื้นที่ หน่วยปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาท เพื่อการบูรณาการร่วมกันภายใต้โครงสร้างของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริม อาชีพผู้สูงอายุ ซึ่งมีโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว โดยมี กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและจิตอาสาเข้ามาเป็นกลไกปฏิบัติงาน เชิงพื้นที่th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทย -- ชลบุรีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ -- นโยบายของรัฐth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ภาวะสังคมth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleกลไกของการพัฒนาผู้สูงอายุในท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeMechanism of local elderly development: A case study of Chonburi provinceen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research article aims to study the mechanism of elderly development at the local level in Chonburi province. The study is a quantitative research. The results revealed that the elderly development mechanism of Chonburi provincial administrative organization was driven by the network of elderly clubs and the self-care knowledge building activities. The mechanism for development occurred at the local level. The local administrative units play a role in working together under the quality of life development center which has programs for promoting elders’ professions, elderly schools, long-term care for the elderly. In these schemes, Village Health Volunteers (VHV) and volunteers are parts of the operating mechanismen
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page120-140.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n1p120-140.pdf565.86 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น