กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/419
ชื่อเรื่อง: อัตราการติดเชื้อและผลของพรอพอลิสต่อการติดเชื้อ Nosema ceranae ของทางเดินอาหารส่วนกลางและต่อมไฮโปฟาริงค์ของผึ้งในประเทศไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Infection ratio and effect of propolis on the infectivity of nosema ceranae of midgut and hypopharyngeal glands of honeybees in Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กันทิมา สุวรรณพงศ์
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ: ผึ้ง - - การติดเชื้อ
ผึ้ง - - อวัยวะย่อยอาหาร
ผึ้ง - - โรค
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
วันที่เผยแพร่: 2554
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของ Nosema ceranae ที่มีผลต่อผึ้งหลังติดเชื้อและสารสกัด พรอพอลิสจากชันโรง Trigona apication ที่เก็บรวบรวมจากจังหวัดชลบุรี ต่อการติดเชื้อโนชีโรมา ปริมาณเชื้อต่อตัว ร้อยละการติดเชื้อในเซลล์ อัตราการรอดชีวิต ปริมาณโปรตีนของต่อมไฮโปฟาริงค์ในผึ้งงานของผึ้งสองชนิดคือ ผึ้งโพรง (Apis cerana) และผึงมิ้ม (Apis florea) โดยให้สารสกัดพรอพอลิสที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ คือ ร้อยละ 50 (50P) และร้อยละ70 (70P) หลังจากป้อนเชื้อโนชีมาที่ละลายในสารละลายน้ำตาลซูโครสร้อยละ50 (w/v) ด้วยความเข้มข้น (Dose) 40,000 สปอร์ ปริมาตร 2 ไมโครลิตรต่อตัว นำมาเลี้ยงในตู้บ่มเชื้ออุณหภูมิ33±2 º C ความชื้นสัมพัทธ์ 50±5 พบว่าอัตราการติดเชื้อภายในเซลล์ อัตราการตายของผึ้งทั้งสองชนิดในกลุ่มทดลองที่ป้อนเชื้อโนชีมาแต่ไม่ได้รับสารสกัดพรอพอลิว คือ กลุ่ม OP และกลุ่ม CE สูงกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควงบคุม CO CP และกลุ่มที่ป้อนเชื้อแต่ได้รับสารสกัดพรอพอลิส คือ กลุ่ม 50P และ 70P แต่จากกการศึกษาพบว่าระดับความเข้มข้นของพรอพอลิส ที่ร้อยละ 50 และร้อยละ 70 ให้ผลไม่แตกต่างกัน อนอกจากนี้การศึกษาปริมาณโปรตีนจากต่อมไฮโปฟาริงค์ของผึ้งทั้งสองชนิดหลังจากป้อนเชื้อโนชีมาและให้สารสกัดพรอพอลิส พบว่าสชั้อโนชีมาส่งผลให้ปริมาณโปรตีนจากต่อมไฮโปฟาริงค์ในผึ้งทั้งสองชนิดลดลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับเชื้อ (กลุ่มควบคุม CO CP) และกลุ่มที่ป้อนเชื้อแต่ได้รับสารสกัดพรอพอลิส นอกจากนี้อัตราการติดเชื้อยังเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาหลังได้รับเชื้อด้วย จากกการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่าสารสกัดพรอพอลิสจากชันโรงชนิด T. apicallis ทำให้อัตราการติดเชื้อ ร้อยละการติดเช อในเซลล์ทางบเดินอาหารส่วนกลางและลดอัตราการตายของผึ้งทั้งสองชนิด นอกจากนี้ทำให้ปริมาณโปรตีนจากต่อมไฮโปฟาริงค์สูงขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ป้อนเชื้อแต่ไม่ได้รับสารสกัดพรอพอลิส This research is the record of the detection and infection of Apis florea and A. cerana by Nosema ceranae, a newly identified pathogen of honeybee in Thailand, initially isolated from heavily infected A. florea worker. The dispersal of ceranae in two honeybee species in Thailand, A. cerana and A. florea was studied from colonies in Northeastern, East and central Thailand by checking and counting spores using hemocytometer. In addition, effect of N.ceanae on experimental infection of A. cerana and A. florea treated and untreated with propolis of stingless bee, Trigona apicallis, on infection rate, infectivity, survival and infection ration between infected cells and non infected cells were assessed. Each Nosema freebee was fed 2 µl of 50% (w/v) sucrose solution containing Nosema spores at dosages of 5,000, 8,000, 10,000, 20,000 and 40,000 spores per bee and 0 as control. Thirty-two infected colonies (35.96%) of A. florea were found from total collected 89 colonies. No spores were found in other 57 colonies (64.04%). Among 80 colonies of A. cerana, 29 infected colonies were found (35.25%) while 51 colonies (63.75%) showed no infection of Nosema spores. In addition, the survival rates of dosed bees of these two species showed similar signs that were significantly lower compared to the control bees whereas no infection was found in control bees. Protein contents of hypopharyngeal glands of control bee on day 14 post infection (p.i) if A. cerana was the significantly highest (27.16± 0.17 µg/bee) compared with all other, in order to those of control bees of A. florea and A. florea increased eith increasing days of infection. These results suggest that N. ceranae shows negative effect on protein production of honeybee hypopharyngeal glands and shorten their life span. Propolis extracted from T. apicallis showed positive effect on infected bees, the reduction of infection rate, infectivity and bee mortality including the increasing of protein production of the hypopharyngeal glands in both species. This results corresponds to the appearance of abnormal structure of Nosema spores in propolis treated bees suggests that probably this extraction might inhibit growth and development of N.ceranae during developmental period resulting a reduction of its pathogenicity.
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/419
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น